บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
Advertisements

สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
องค์การอนามัยโลกได้มีมติ สมัชชา WHA39.14 (1986) เรียกร้องประเทศสมาชิกให้ใช้กลยุทธ์ ควบคุมยาสูบอย่างสมบูรณ์เบ็ดเสร็จ โดยมี 9 องค์ประกอบ.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปข่าวที่ปรากฏใน หนังสือพิมพ์ ตั้งแต่เดือนเมษายน 2548 – มกราคม 2549 เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองเพื่อพัฒนาทิศทางการลดปัญหาอุบัติเหตุอันเนื่องจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ภูษิต ประคองสาย วลัยพร พัชรนฤมล วราภรณ์ ปวงกัณทา
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา บุญธรรมเจริญ ภูษิต ประคองสาย วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กลุ่มประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข การประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2550 29-31 สิงหาคม 2550 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่

หัวข้อในการนำเสนอ สถานการณ์ภาระโรคและพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพของคนไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษา วิธีการศึกษาและแหล่งข้อมูลที่ใช้ ผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

10 อันดับแรกของกลุ่มโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียปีสุขภาวะ (DALY) ในประชากรไทย พ.ศ. 2547 % of Total 52.6 42.8 ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547

ปัจจัยเสี่ยงและจำนวนปีที่สูญเสียไปจากภาระโรคในประชากรไทย พ. ศ ปัจจัยเสี่ยงและจำนวนปีที่สูญเสียไปจากภาระโรคในประชากรไทย พ.ศ. 2542 และ 2547 ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547

วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มความชุกของการสูบบุหรี่และการดื่มสุราในประชากรไทยระหว่างปี พ.ศ. 2544-2549 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจ กับความชุกของการสูบบุหรี่และการดื่มสุราระหว่างปี พ.ศ. 2544-2549 เพื่อศึกษารายจ่ายของครัวเรือนเพื่อการบริโภคสุราและบุหรี่เปรียบเทียบกับรายจ่ายเพื่อการรักษาพยาบาลและรายจ่ายโดยรวมของครัวเรือน เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหา

วิธีการศึกษาและแหล่งข้อมูล วิเคราะห์ฐานข้อมูล การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) พ.ศ. 2544, 2546 และ 2549 การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (สศส.) พ.ศ. 2545, 2547 และ 2549 ใช้ข้อมูลของประชากรตัวอย่างที่มีอายุมากกว่า 15 ปีขึ้นไปในการประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุรา จำแนกฐานะทางเศรษฐกิจของประชากรจากข้อมูลรายได้ต่อหัวของสมาชิกในครัวเรือนตัวอย่างออกเป็น 5 ควินไทล์รายรับ (ยากจนที่สุด ยากจน ปานกลาง รวย และ รวยที่สุด) จำแนกระดับการศึกษาของประชากรออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า มัธยมศึกษา และ วิทยาลัย/มหาวิทยาลัย อาศัยการถ่วงน้ำหนักของครัวเรือนตัวอย่างเพื่อให้ได้ภาพของประชากรไทยทั้งประเทศ

ผลการศึกษา

แนวโน้มการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากรไทย แหล่งข้อมูล สอส แนวโน้มการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากรไทย แหล่งข้อมูล สอส. 2544, 2546, 2549

ความชุกของการดื่มสุราในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป แหล่งข้อมูล สอส ความชุกของการดื่มสุราในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป แหล่งข้อมูล สอส. 2544, 2546, 2549

ความชุกของการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป แหล่งข้อมูล สอส ความชุกของการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป แหล่งข้อมูล สอส. 2544, 2546, 2549

ค่ามัธยฐานรายจ่ายของครัวเรือน (บาทต่อเดือน) สำหรับบุหรี่ สุราและสุขภาพ ตามตามควินไทล์รายรับ พ.ศ. 2549 แหล่งข้อมูล สศส. 2549

สรุปผลการศึกษา ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2544-2549 ความชุกของการสูบบุหรี่ในคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมีแนวโน้มลดลง และสัดส่วนของคนที่ไม่ดื่มสุรามีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ประชาชนที่มีการศึกษาและมีรายได้สูงมีความชุกของการสูบบุหรี่น้อยกว่าประชากรกลุ่มที่มีเศรษฐานะยากจนหรือมีการศึกษาน้อยกว่าระดับมัธยมศึกษา ประชาชนที่มีการศึกษาสูงมีสัดส่วนของการดื่มสุราทุกสัปดาห์น้อยกว่า และมีความชุกของการไม่ดื่มสุรามากกว่ากลุ่มที่มีการศึกษาต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษา ในปี 2549 ครัวเรือนไทยมีรายจ่ายเพื่อการดื่มสุราและการสูบบุหรี่สูงกว่ารายจ่ายสำหรับการรักษาพยาบาลในทุกกลุ่มควินไทล์รายรับ แนวโน้มรายจ่ายเพื่อการบริโภคบุหรี่และสุราเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในกลุ่มยากจนที่สุด (Q1) และกลุ่มยากจน (Q2)

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (1) จากแนวโน้มอัตราเพิ่มของการบริโภคแอลกอฮอล์ ประเทศไทยควรกำหนดเป้าหมายระดับชาติในการควบคุมปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อคนต่อปีและต้องมีการบังคับใช้มาตรการที่มีประสิทธิผล ทบทวนการจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิต โดยเฉพาะภาษีเหล้าขาว การกำหนดอายุต่ำสุดในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การควบคุมการโฆษณาทั้งทางตรงและทางอ้อม การควบคุมและจำกัดการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น กำหนดเวลาจำหน่าย จำกัดใบอนุญาต จำกัดประเภทของร้านค้าและสถานที่จำหน่าย การสุ่มตรวจผู้ขับขี่ขณะมึนเมา สนับสนุน พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติกำลังพิจารณาอยู่ในขณะนี้ เนื่องจากเป็นกฎหมายที่มีขึ้นเพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชน คุ้มครองครอบครัวและสังคมโดยรวม เพิ่มการรณรงค์ทางสื่อสารมวลชน เพื่อสร้างความตระหนักและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งเพื่อให้เกิดมาตรการทางสังคม

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (2) หน่วยงานภาครัฐทั้งกระทรวงสาธารณสุข และ สปสช. รวมทั้งองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้อง เช่น สสส. โครงการรณรงค์ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และทุกภาคส่วน ต้องให้ความสำคัญกับการควบคุมการบริโภคสุราและการสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องและเข้มแข็ง เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพของประชาชนและสร้างภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว การใช้มาตรการทั้งด้านอุปสงค์และอุปทานและการให้ความสำคัญกับกลุ่มประชากรที่มีการศึกษาและรายได้น้อย สนับสนุนการสำรวจและเก็บข้อมูลของครัวเรือนไทยอย่างต่อเนื่องของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เพื่อสร้างฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับการติดตามความเปลี่ยนแปลงสถานการณ์การบริโภคสุราและการสูบบุหรี่ในกลุ่มประชากรที่มีระดับการศึกษาและรายได้ที่แตกต่างกัน พัฒนาข้อถามในแบบสำรวจการบริโภคสุรา เพื่อให้สะท้อนปริมาณการดื่มสุรา ทั้งในด้านปริมาณและความถี่ของการดื่ม

กิตติกรรมประกาศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (สนย.) กลุ่มประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยเพื่อส่งเสริมความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ (CREHS)