งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Medication reconciliation
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Risk Management JVKK.
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ ของกรมแพทย์ทหารบก
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
Management of Pulmonary Tuberculosis
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
Medication reconciliation
VDO conference dengue 1 July 2013.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Tuberculosis วัณโรค.
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
ไข้เลือดออก.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
โรงพยาบาลอานันทมหิดล
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ระบบดี TB ห่างไกล งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

วัณโรค วัณโรค เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่มีหลักฐาน ทางวิทยาศาสตร์ ยืนยันว่า เป็นสาเหตุการเสียชีวิตสำคัญของบรรพบุรุษของเรามากกว่า หกพันปี

วัณโรค  เกิดจากเชื้อ Mycobacterium Tuberculosis  ติดต่อผ่านทางอากาศ (Airborne)  เชื้อเข้าร่างกายแล้วจะฝังตัวที่เนื้อปอด แบ่งตัว แล้วไปตามกระแสน้ำเหลืองที่ขั้วปอด เข้าสู่ กระแสเลือด

ความชุกของวัณโรค ความชุกของผู้ป่วยวัณโรคทั่วโลกคือ ๑๔.๔ ล้านคน (๒๑๙ ต่อแสนประชากร) โดยเป็นผู้ป่วยใหม่ ๙.๑๕ ล้านคน หรือ ๑๓๙ ต่อแสนประชากร ในจำนวนนี้มี ๑.๖๖ ล้านคนเสียชีวิต ประเทศไทย มีผู้ป่วยวัณโรคเป็น อันดับ ๑๘ ของโลก โดยมีผู้ป่วย ๑๒๕,ooo รายคิดเป็น ๑๙๗ ต่อประชากรแสนคน และมีผู้ป่วยเสียชีวิต ๑๓,ooo ราย คิดเป็น ๒o ต่อประชากรแสนคน

การแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล  จากผู้ป่วยสู่ผู้ป่วยอื่น  จากผู้ป่วยสู่บุคลากร  จากบุคลากรสู่ผู้ร่วมงาน

สาเหตุของการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค ในโรงพยาบาล  วินิจฉัยโรคช้า  ได้ผลการตรวจเสมหะช้า  การแยกผู้ป่วยไม่ได้มาตรฐาน  ไม่ได้ใช้ PPE ขณะทำหัตถการ

มาตรการป้องกันและควบคุม การแพร่กระจายเชื้อ  ค้นหาผู้ป่วยระยะแพร่เชื้อ จัดห้องแยกให้เหมาะสม ให้ยาที่ถูกต้องเหมาะสมและรวดเร็ว  ควบคุมสิ่งแวดล้อม โดยการจัดสถานที่ให้มีแสงส่องถึง  ใช้ PPE เพื่อป้องกันบุคลากร คัดกรองบุคลากร ที่ได้รับเชื้อแล้ว

การดำเนินการ * แต่งตั้งคณะทำงาน * กำหนดตัวชี้วัดเฉพาะจุด * จัดระบบ fast track * แต่งตั้งคณะทำงาน * กำหนดตัวชี้วัดเฉพาะจุด * ผลักดันให้ระบบทำงานได้

การวินิจฉัยโรคได้เร็วขึ้น ระบบ fast track เดิม ระบบใหม่ ไม่มีการคัดกรองผู้ป่วย ทำให้มีผู้ป่วย วัณโรคปะปนอยู่หน้าหน้าห้องตรวจ (โอกาสแพร่กระจายเชื้อสูง) - คัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยง (ซักประวัติ ไอมากกว่า 2 สัปดาห์ ไข้เรื้อรัง น้ำหนักลด) - ให้ผู้ป่วยสวม mask ได้เร็วขึ้น (ลดการแพร่กระจายเชื้อ) - ส่งเอกซเรย์ได้เลย (ไม่ต้องรอแพทย์สั่งลดขั้นตอนและระยะเวลาแพร่เชื้อ) - พบแพทย์ได้ทันที (ลดโอกาสแพร่เชื้อ) เพื่อค้นหาผู้ป่วย ส่งเสริมให้มี การวินิจฉัยโรคได้เร็วขึ้น

ระบบ fast track (ต่อ) เดิม ระบบใหม่ เก็บเสมหะตอนเช้าเท่านั้น (รอเก็บวันถัดไป) ทำให้ผลออกช้าผู้ป่วยนอนรวมในสามัญ - เก็บเสมหะส่งตรวจทันที ( เวลาใดก็ได้ เก็บ 3 ครั้ง ใน 2 วัน) - ส่ง Sputum AFB ได้จนถึงเวลา 22.00 น. สามารถตรวจและออกผลได้ภายใน 2 ชั่วโมง - กรณีด่วน สามารถส่งตรวจเวรดึกได้ การตรวจเสมหะล่าช้า

ระบบ fast track (ต่อ) - มีเกณฑ์ในการเข้า - ออกห้องแยก เดิม ระบบใหม่ รอผลตรวจเสมหะนาน ทำให้เข้าห้องแยกช้า - มีเกณฑ์ในการเข้า - ออกห้องแยก - จัดระบบห้องแยก ให้มีทุกหอผู้ป่วย การแยกไม่ได้มาตรฐาน

Guide line fast track TB ผู้ป่วยมีอาการ URI ให้สวม mask จุดคัดกรองหน้าห้องบัตร ผู้ป่วยไอ >2 wks ค้นหากลุ่มเสี่ยง เข้า fast track ห้องตรวจอายุรกรรม เบาหวาน,ต่างด้าว ไข้เรื้อรัง น้ำหนักลด CXR พบแพทย์ห้องตรวจ 4 ประเมินอาการ อาการแสดง CXR สั่งยา ส่ง AFB ,สั่งยา ห้องยา - เก็บเสมหะ - Lab ตรวจ AFB - เภสัช จ่ายยา TB clinic

ผลการดำเนินงาน (เริ่ม fast track TB เดือนมิถุนายน 54)

ตัวชี้วัด: OPD ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ.< 3 ชม. ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด: OPD ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ.< 3 ชม. เป้าหมาย > 80% ข้อมูล มิ.ย. 54 – มี.ค. 55 จำนวนผู้ป่วยเข้า fast track TB 42 ราย เป็นวัณโรคแบบเสมหะพบเชื้อ 19 ราย ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ. < 3 ชม. ระยะเวลาเฉลี่ยที่ผู้ป่วยอยู่ในรพ. 2 ชม. 30 นาที การคัดกรอง ลดการแพร่เชื้อ

แผนภูมิแสดงระยะเวลาผู้ป่วยวัณโรค AFB positive อยู่ในห้องฉุกเฉิน ที่ผู้ป่วยอยู่ใน ER < 30 นาที แผนภูมิแสดงระยะเวลาผู้ป่วยวัณโรค AFB positive อยู่ในห้องฉุกเฉิน

ตัวชี้วัดที่ IPD ตัวชี้วัดผลลัพธ์การดำเนินงาน เป้าหมาย ผู้ป่วย AFB + ve เข้าห้องแยกภายใน 48 ชั่วโมง > 80 % ตัวชี้วัดกระบวนการ ได้รับผล AFB ภายในวันที่ส่งตรวจ ผู้ป่วยเข้าห้องแยกภายในวันที่ทราบผล AFB + ve

แผนภูมิแสดงระยะเวลาตั้งแต่มีorder-ได้รับผลตรวจAFB (ก่อนและหลัง fast track TB ปี2554) หน่วย:ร้อยละ

แผนภูมิแสดงวันที่ผู้ป่วยวัณโรค AFB positive ได้เข้าห้องแยก หน่วย:ร้อยละ

ตัวชี้วัดผลลัพธ์การดำเนินงาน OPD ได้ 100 % (19 ราย) ระยะเวลาที่ผู้ป่วยนอก AFB +ve อยู่ในรพ.< 3 ชม. > 80% ER ได้ 0 % ระยะเวลาที่ผู้ป่วยใน AFB +ve ผ่าน ER < 30 นาที > 80% IPD ได้ 54.6 % (6 ราย) ผู้ป่วย AFB +ve ได้เข้าห้องแยกภายใน 48 ชม.หลัง admit > 80%

Fast track TB การเข้าห้องแยกภายใน 48 ชม. ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย มีร้อยละ 36 ที่ได้เข้าห้องแยกหลัง admit 2 วัน ทั้งนี้เนื่องจาก... ปัญหาห้องแยกไม่เพียงพอ และ การบริหารจัดการเข้าห้องแยก ไม่ได้ตามตัวชี้วัด ซึ่งขณะนี้กำลังดำเนินการให้มีห้องแยกและมีระบบ การบริหารจัดการที่ดี

ข้อเสนอแนะ ศึกษาเฉพาะเจาะจงเรื่องการใช้ PPE ในการ ป้องกันวัณโรคโดยเฉพาะ เพื่อครอบคลุมถึง สาเหตุของการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคใน โรงพยาบาล