วงจรนับ (COUNTER CIRCUIT)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตารางค่าความจริง คือ อะไร
Advertisements

การทดลองที่ 5 วงจรนับ (Counter)
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
Combination Logic Circuits
ลอจิกเกต (Logic Gate).
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
วงจรลบแรงดัน (1).
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
วงจรดิจิตอล Digital Circuits Wadchara.
CS Assembly Language Programming
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Combination Logic Circuit
Number Representations
-- Introduction to Sequential Devices Digital System Design I
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
Flip-Flop บทที่ 8.
ASSIGN3-4. InstructionResult Z-FlagC-FlagP-FlagS-FlagO-Flag MOV AL,9Eh 9Eh H ????? ADDAL,9Eh 3C ADD AL,1Eh 5A
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
รูปแบบคาโนนิคัล หรือรูปแบบบัญญัติ หรือรูปแบบมาตรฐาน canonical forms
เกท (Gate) AND Gate OR Gate NOT Gate NAND Gate NOR Gate XNOR Gate
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
ทฤษฎีของพีชคณิตบูลีน (Boolean algebra laws)
การวิเคราะห์และสังเคราะห์เกต
อาจารย์สายสุนีย์ เจริญสุข

ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
Basic Programming for AVR Microcontroller
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ดิจิตอลเทคนิค 2 (3) (Digital Techniques)
การออกแบบวงจรดิจิตอล 2 (3)
วงจรนับที่เป็นวงจรรวม
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
การโปรแกรมPLC.
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
LAB 1. การเขียนสมการลอจิก จากวงจรลอจิก
Gate & Circuits.
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
วัตถุประสงค์การใช้งาน PLC
Digital Lecture 12 วงจรนับ ( Counter ).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงจรนับ (COUNTER CIRCUIT) โดย อาจารย์ชูศักดิ์ พุกกะพันธุ์ ตำแหน่งครูชำนาญการพิเศษ

บทนำ วงจรนับเป็นวงจรที่ทำงานโดยการนับจำนวน พัลส์สี่เหลี่ยมที่ป้อนเข้าทางอินพุต และแสดง ผลออกเป็นเลขฐาน 2 หรือเลขฐาน 10 โดยมีอุปกรณ์ที่สำคัญคือ ฟลิป-ฟลอป เกต(วงจรนับชนิดพิเศษ)

บทนำ แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ วงจรนับแบบซิงโครนัส วงจรนับแบบอะซิงโครนัส

วงจรนับแบบอะซิงโครนัส(Asynchronous) วงจรนับขึ้น เป็นวงจรนับที่ฟลิปฟลอปแต่ละตัวทำงานเรียงลำดับ กัน โดยจะแสดงผลทางเอาต์พุตจากเลขลำดับ ต่ำสุดไปยังเลขสูงสุด

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต สัญญาณนาฬิกา

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต ตารางความจริง นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 B A 2s 1s 1 2 3

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต สัญญาณนาฬิกา

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต ตารางความจริง นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 C B A 4s 2s 1s 1 2 3 4 5 6 7

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต สัญญาณนาฬิกา

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต ตารางความจริง นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 D C B A 8s 4s 2s 1s 1 2 3 4 5 6 7

วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต ตารางความจริง นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 D C B A 8s 4s 2s 1s 1 8 9 10 11 12 13 14 15

วงจรนับแบบอะซิงโครนัส(Asynchronous) วงจรนับลง เป็นวงจรนับที่ฟลิปฟลอปแต่ละตัวทำงานเรียงลำดับ กัน โดยจะแสดงผลทางเอาต์พุตจากเลขลำดับสูง สุดไปยังเลขต่ำสุด

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต สัญญาณนาฬิกา

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต ตารางความจริง ลำดับของ สัญญาณ นาฬิกา นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 B A 2s 1s 1 3 2

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต สัญญาณนาฬิกา

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต ตารางความจริง ลำดับของ สัญญาณ นาฬิกา นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 C B A 4s 2s 1s 1 7 6 2 5 3 4

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต สัญญาณนาฬิกา

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต ตารางความจริง ลำดับของสัญญาณ นาฬิกา นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 D C B A 8s 4s 2s 1s 1 15 2 14 3 13 4 12 5 11 6 10 7 9 8

วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต ตารางความจริง ลำดับของสัญญาณ นาฬิกา นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 D C B A 8s 4s 2s 1s 9 1 7 10 6 11 5 12 4 13 3 14 2 15 16

การนับแบบมอดูลัส(Modulous Counter) การนับแบบมอดูลัสหมายถึง จำนวนครั้งของการนับหรือ จำนวนสถานะของการนับ เช่น วงจรนับอะซิงโครนัส ที่นับเลขขนาด 4 บิต อาจเรียกว่าวงจรมอดูลัส 16 (Mod-16 Counter) การหาค่าจำนวนฟลิปฟลอปในวงจรมีค่าเท่ากับ 2n โดย n คือ จำนวนฟลิปฟลอปในวงจรนับ

ตัวอย่างการออกแบบ จงออกแบบวงจรนับ Mod - 6 ให้นับเลขขึ้นตามลำดับ 0 1 2 3 4 และ5 จำนวนฟลิปฟลอป = 3 ตัว ใช้วงจรนับแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต แต่ใช้วงจรเกต ควบคุมการนับ

3. เขียนตารางความจริงเพื่อหาวงจรเกต นับ อินพุต เอาต์พุต C B A Y 1 2 3 4 5 6 7

4. จากตารางความจริงนำมาลดรูปสมการ 4. จากตารางความจริงนำมาลดรูปสมการ C B 00 01 11 10 A 1 1

5. จากสมการจะได้วงจรเกต 5. จากสมการจะได้วงจรเกต

วงจรนับแบบซิงโครนัส(Synchronous) เป็นวงจรนับที่ต่อขาสัญญาณนาฬิกาควบคุมฟลิฟลิปทุกตัว ในวงจรให้ทำงานพร้อมกัน แต่การควบคุมให้วงจรนับ แสดงผลการนับเลขใด ๆ นั้นขึ้นอยู่กับการออกแบบวงจร ควบคุมอินพุตเจและเค ของฟลิปฟลอป จำนวนครั้งของการนับจะเหมือนกับแบบอะซิงโครนัส คือ 2n เมื่อ n คือ จำนวนฟลิปฟลอปของวงจรนับ

วงจรนับซิงโครนัสขนาด 3 บิต

การออกแบบวงจรควบคุมอินพุต J และ K ของฟลิปฟลอป แต่ละตัวต้องใช้ตาราง Excitation ประกอบการออกแบบ วงจรเกต Action J K 0 0 d 0 1 1 1 0 1 1

ตัวอย่าง จงออกแบบวงจรนับแบบซิงโครนัส ให้นับเลขได้ดังนี้ ตัวอย่าง จงออกแบบวงจรนับแบบซิงโครนัส ให้นับเลขได้ดังนี้ 1 2 3 4 5 6 7

1. เขียน State Transition diagram 101 110 111 011 010 001 100 000

2. ออกแบบวงจรควบคุม JA และ KA ลำดับการนับ สภาวะของ A จากตาราง Excitation ผลของ JA ผลของ KA 0 ----- 1 มี Action “0”------- “1” 1 d 1 ----- 2 มี Action “1”------- “0” 2 ----- 3 3 ----- 4 4 ----- 5 5 ----- 6 6 ----- 7 7 ----- 0

1 d d 1 หาสมการ JA และ KA JA = 1 KA = 1 C B C B 00 01 11 10 00 01 11 1 1 JA = 1 KA = 1

3. ออกแบบวงจรควบคุม JB และ KB C B C B 00 01 11 10 00 01 11 10 A d 1 A d 1 1 1 JB = A KB = A

4. ออกแบบวงจรควบคุม JC และ KC C B C B 00 01 11 10 00 01 11 10 A d 1 A d 1 1 1 JC = AB KC = AB

5. นำผลของวงจรควบคุม J และ K มาเขียน Logic Diagram

จงออกแบบวงจรนับซิงโครนัส ให้นับเลขได้ตาม State Transition diagram 110 111 101 000 100 001 011 010

1. จาก State Transition Diagram จะเห็นว่าโจทย์ต้องการให้วงจรซิงโครนัสนับเลข ดังนี้ 1 2 3 4

2. ลดรูปหาวงจร JA, KA, JB, KB, JC, KC 3. เขียน Logic diagram