การ Reaccredit มาตรฐานงานสุขศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

การประกันคุณภาพ การศึกษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
เพื่อรับการประเมินภายนอก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
สรุปกิจกรรม : โสเหล่ครั้งที่ 5 การเตรียมสอบสอน/การยื่นผศ. 29 พ. ค
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
ยิ้มก่อน ทักก่อน ไหว้ก่อน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
EdPEx Kick off.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวง สาธารณสุข รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2552 ระหว่างวันที่ มกราคม 2552 ( ข้อเสนอแนะ ) 1. ในการดำเนินงานเพื่อตอบตัวชี้วัด.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา เรื่อง การแจ้ง การ ออกใบรับรอง การขอต่ออายุและ การต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
กรณีความเสี่ยง DMSc.
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
การเขียนรายงานผลการวิจัย
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
การสุขศึกษา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรฐานงานสุขศึกษา
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การ Reaccredit มาตรฐานงานสุขศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.นิตยา เพ็ญศิรินภา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บรรยาย ณ โรงแรมทีเคพาเลส วันที่ 11 มกราคม 2554

วัตถุประสงค์ของการ Reaccredit เพื่อส่งเสริมให้สถานบริการสาธารณสุขที่ผ่านการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษามีการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อดูผลการปฏิบัติงานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุขที่ผ่านการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา เพื่อต่ออายุการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุขที่มีการดำเนินงานได้มาตรฐานงานสุขศึกษา

คุณสมบัติของสถานบริการที่จะ Reaccredit เป็นสถานบริการที่ผ่านมาตรฐานงานสุขศึกษาซึ่งครบวาระการรับรอง 3 ปี สมัครใจที่จะขอประเมินรับรองซ้ำและมีการเตรียมความพร้อมในการขอรับรองซ้ำในปีที่ 4 คือ มีการประเมินตนเองตามมาตรฐานงานสุขศึกษาฉบับปรับปรุงของปีที่ขอรับรองและมีผลการประเมินตนเองอยู่ในระดับ 3/ ดีมาก

หมายเหตุ ในกรณีที่สถานบริการสาธารณสุขครบวาระการรับรองแล้วยังไม่ขอรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษาในปีที่กำหนดนั้นๆ แต่ขอล่าช้าได้ 1 ปี เช่น ถ้าครบประเมินปี 2553 แต่เว้นไป 1 ปีโดยเลื่อนไปขอรับรองในปี 2554 จะให้เป็นการประเมินรับรองซ้ำ แต่หากเกินเวลาที่กำหนด 1 ปีแล้ว จะเป็นการขอประเมินรับรองใหม่

ประเด็นหลักในการ reaccredit ผลลัพธ์การดำเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษาฉบับปรับปรุง ปี 2552 และความต่อเนื่องของการพัฒนา เอกสารประกอบการ Reaccredit ส่วนที่ 1 ข้อมูลผลการประเมินตนเอง (มส.1 และ มส.2) ส่วนที่ 2 ข้อมูลแสดงผลลัพธ์ตามองค์ประกอบที่ 10 ส่วนที่ 3 ข้อมูลที่แสดงผลการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมีการเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่ต้องพัฒนาหรือสิ่งที่พบว่าเป็นจุดอ่อน

หมายเหตุ สำหรับรายละเอียดข้อมูลเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ตามตัวชี้วัดและเกณฑ์ของมาตรฐานงาน สุขศึกษาฉบับปรับปรุงทั้ง 10 องค์ประกอบ ให้เตรียมไว้ในแฟ้มงานปกติไว้ที่สถานบริการสาธารณสุขสำหรับให้คณะกรรมการฯ (2 คน) ตรวจสอบในพื้นที่

หลักฐานเพิ่มจาก 10 องค์ประกอบ เพื่อประกอบการ Reaccredit ผลการประเมินตนเอง 3 ปี ย้อนหลัง นับจากปีที่ผ่านการประเมิน หลักฐานแสดงการพัฒนางานที่ต่อเนื่องจากปีที่ผ่านการประเมิน เช่น แก้ไขจุดอ่อน/เพิ่มโครงการ/กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่/กลวิธีการดำเนินงาน ผลงานเด่น/โครงการเด่น หรือ Best Practice ที่ผ่านมา มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานสุขศึกษาในภาพรวม (เฉพาะ รพ.) สิ่งที่จะพัฒนางานสุขศึกษาต่อเนื่องในปีถัดไป

pensirinapa@gmail.com โทร 081-6243098 คำถามและข้อเสนอแนะ pensirinapa@gmail.com โทร 081-6243098