พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา การประชุมวิชาการสุขศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 16 เรื่อง”พลังชุมชน สู่สุขภาพดี” วันที่ 24 -26 กรกฎาคม 2556 รศ. ดร.พิทยา จารุพูนผล ผศ.ดร. ยุวดี รอดจากภัย ผศ.ดร.อารี หลวงนา ผศ. ดร. ลักขณา เติมศิริกุลชัย ผู้ดำเนินการอภิปราย
ความเป็นมาของประชาคมอาเซียน ปฎิญญากรุงเทพ (8 สค. 2510) ความพยายามของ 5 ประเทศ - อินโดนีเซีย -มาเลเซีย - ฟิลิปปินส์ - สิงค์โปร์ - ไทย จุดมุ่งหมาย : อาเซียนเป็นดินแดนแห่งสันติภาพ ความร่วมมือด้าน - เศรษฐกิจ - สังคม - วัฒนธรรม - วิชาการ - วิทยาศาสตร์ - เกษตร - อุตสาหกรรม ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ความเป็นมาของประชาคมอาเซียน ประชากรในอาเซียน 500+ ล้านคน พื้นที่ = 4.5 ล้าน ตร กม. อาซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations) มี 10 ประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงค์โปร์ ไทย บรูไน กัมพูชา ลาว เมียน-มาร์ เวียตนาม
หลักการสำคัญของประชาคมอาเซียน การสร้างประชาคมให้มีความเจริญมั่งคั่ง ของประชากร ทรัพยากร เศรษฐกิจ และสังคมภายใต้หลักการ ยุทธศาสตร์เดียว วิสัยทัศน์เดียว เอกสักษณ์เดียว ประชาคมเดียว ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน การศึกษา
การเตรียมความพร้อมด้านการศึกษา : จุดมุ่งหมาย สร้างประชาคมอาเซียนด้านการศึกษา : Education Hub - พัฒนาคุรภาพด้านการศึกษา - การขยายโอกาศด้านการศึกษา - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริการและจัดการศึกษา สร้างความเข้าใจกับเพื่อนบ้านในกลุ่มประเทศอาเซียน - ชาติพันธ์ - หลักสิทธิมนุษยชน - การเรียน การสอนภาษาต่างประเทศ การพัฒนาเทคโนโลยีด้านการศึกษา - โครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ - ศูนย์เรียนรู้แห่งชาติ - ศูนย์กลาง รวบรวม และจัดเก็บข้อมูล
ประเด็นการเสวนา การได้เปรียบ เสียเปรียบของประเทศไทยเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ผลกระทบของประเทศไทยทางด้านสาธารณสุข สถานศึกษามีการปรับกลยุทธ์เพื่อรองรับประชาคมอาเซียนอย่างไร การเตรียมความพร้อมของคณะสาธารณสุขศาสตร์ในการพัฒนาสมรรถนะนักสาธารณสุข