แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ความหมายและกระบวนการ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
ประกาศสัปดาห์คัดกรองผู้สูงอายุ
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557 แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557 1

สถานการณ์ 1. โครงสร้างประชากรผู้สูงอายุ - ประชากรประเทศไทย 64.5 ล้านคน - จำนวนประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ 9.4 ล้านคน (ร้อยละ 14.57) - จำนวนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป เท่ากับ 6.3 ล้านคน (ร้อยละ 9.77)

สถานการณ์ 2. สุขภาพของผู้สูงอายุ 2.1 อุบัติการณ์โรคหรืออาการเรื้อรังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุไทย โดยการตรวจร่างกาย 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มอาการเมตาบอลิค โรคอ้วนลงพุง ภาวะอ้วน และโรคข้อเสื่อม ตามลำดับ 2.2 สำหรับประชากรไทยกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป พบว่า โรคที่ทำให้ ผู้สูงอายุสูญเสีย ปีสุขภาวะ 5 อันดับแรก ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในผู้ชาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวาน และโรคมะเร็งตับ ส่วนเพศหญิง ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า ตามลำดับ

สถานการณ์ 3. ด้านสังคม อัตราการพึ่งพิงของประชากรสูงอายุต่อคนวัยทำงานของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.2543 เท่ากับ 14.3 และโดยการคาดการณ์พบว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็น 17.6 ในปี พ.ศ.2553 และ 24.6 ใน ปี พ.ศ.2563

สถานการณ์ 4. ความสามารถในการดูแล - มีผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้ ร้อยละ 85.3 - ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้บางส่วน ร้อยละ 13.8 - ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองไม่ได้เลย ร้อยละ 0.9

ปัญหาการบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ใช้งบประมาณสูงขึ้น (๒ – ๕ เท่าของวัยทำงาน) เจ็บป่วยมากขึ้น: มีความจำเป็นต้องได้รับบริการสุขภาพมากขึ้น เป็นโรคที่ต้องมีค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง โดยเฉพาะในปีใกล้ถึงแก่กรรม การเข้าถึงบริการสุขภาพลำบากขึ้น มีค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ การบริบาลระยะยาว (long term care) ยังไม่พัฒนาเป็นระบบ ความสามารถในการจ่ายต่ำลง

Flag ship วัยสูงอายุ: เป้าประสงค์ 1.ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพ ที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ และการคัดกรอง Geriatric Syndrome 2.มีระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ที่มีศักยภาพและสามารถเข้าถึง ได้อย่างสะดวกและทั่วถึง 3.มีระบบการส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ

การส่งเสริมสุขภาพ/การดูแลรักษา รพท./รพศ การส่งเสริมสุขภาพ/การดูแลรักษา รับการส่งต่อ การประเมินเฉพาะทาง ดูแลรักษา HHC รพช. ชุมชน/ท้องถิ่น ศูนย์ข้อมูล (Data Center) การคัดกรอง/ประเมิน ยืนยัน การดูแลเบื้องต้น/พัฒนาทักษะกายใจ/ -ส่งต่อรักษา/ดูแลครบวงจรที่ รพศ/รพท. การประเมิน/คัดกรอง เบื้องต้น (Non-Skills) การประเมิน/คัดกรองโดยเจ้าหน้าที่ (Basic Skills) รวบรวมข้อมูลผลการคัดกรองส่งไปยังศูนย์ข้อมูลที่ รพช. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Long Term Care ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Care Manager) -พัฒนาบุคลากร -สนับสนุนคู่มือ/แนวทางการดำเนินงาน

โครงการระดับจังหวัด 1. ประชุมปฏิบัติการ อำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว : อ.รัตภูมิ อ.นาหม่อม 2. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการเฝ้าระวัง โรคสมองเสื่อม 3. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้สูงอายุ 4. ประกวดตำบลต้นแบบ LTC

โครงการระดับจังหวัด 5. ประกวดชมรมผู้สูงอายุดีเด่นส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 6. ประกวดผู้สูงอายุฟันดี 3 กลุ่มอายุ : 75-79 ปี / 80-89 ปี / 90 ปีขึ้นไป 7. ติดตามการดำเนินงาน / ความพึงพอใจผู้สูงอายุ ใส่ฟันเทียมพระราชทาน

ตัวชี้วัด 1. อัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ไม่เกินร้อยละ 12 1. อัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ไม่เกินร้อยละ 12 2. ผู้สูงอายุในกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาทักษะกาย ใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ตำบลที่ผ่านเกณฑ์ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25

ตัวชี้วัด 4. จำนวนอำเภอที่ผ่านองค์ประกอบการดำเนินงานอำเภอ สุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว อย่างน้อย 1 จังหวัด 1 อำเภอ 5. ผู้สูงอายุมีมาตรฐานสุขภาพที่พึงประสงค์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 6. รพศ. รพท. มีคลินิกผู้สูงอายุ ตามเกณฑ์ 7. รพช. มีคลินิกผู้สูงอายุ ตามเกณฑ์ ร้อยละ 30