การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ” โดย นายภูมิวัฒน์ รัตนผล ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐ สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 083 295 0694
การรับทรัพย์สิน ๑.รับจากญาติซึ่งให้โดยเสน่หา ตามจำนวนที่เหมาะสม(ตามฐานะของญาติ) ๒.รับจากบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ญาติ แต่ต้องไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท ๓.รับทรัพย์สินในลักษณะเป็นการให้กับบุคคลทั่วไป ถ้าผู้บังคับบัญชาเห็นว่าไม่เหมาะสม ให้นำทรัพย์สินนั้นไปคืน ถ้านำไปคืนไม่ได้ ให้นำทรัพย์สินนั้นเข้าเป็นของหลวง มีผลบังคับ ภายใน ๒ ปี หลังจากพ้นจากตำแหน่งราชการแล้ว
ประโยชน์อื่นใด หมายรวมถึง “สิ่งที่มีมูลค่า” เช่น การรับสิทธิลดราคา เกิน ๓,๐๐๐ บาท การรับความบันเทิง
ความรับผิด ครอบคลุมทั้ง “ผู้ให้” และ “ผู้รับ” เงิน หรือผลประโยชน์อื่นใด แค่ “เรียกรับ” แม้ยังไม่ได้ “รับเงิน” ก็มีความผิดแล้ว
ร่ำรวยผิดปกติ
ผลประโยชน์ทับซ้อน การที่เจ้าหน้าที่มีผลประโยชน์ส่วนตัวมาก จนมีผลต่อการปฏิบัติหน้าที่ และการปฏิบัติหน้าที่นั้น เป็นไปเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้องมากกว่าประโยชนรัฐ
พ. ร. บ. ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาของรัฐ (ประกาศใช้ ๓๐ พ. ย พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาของรัฐ (ประกาศใช้ ๓๐ พ.ย. ๒๕๔๒) เกี่ยวข้องกับการฮั้วประมูลของรัฐ ใช้บังคับทั้งเอกชน เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง