โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
2.5 Field of a sheet of charge
การวิเคราะห์ความเร็ว
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
ความเท่ากันทุกประการ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Application of Graph Theory
ว ความหนืด (Viscosity)
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
Quadratic Functions and Models
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
Introduction to Statics
Structural Analysis (2)
ความหมายและชนิดของคลื่น
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
Systems of Forces and Moments
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วงรี ( Ellipse).
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
การวนทำซ้ำ do การทำงานที่ต้องการวนซ้ำ until ( เงื่อนไขที่ใช้วน ) while ( เงื่อนไขที่ใช้วน ) การทำงานที่ต้องการวนซ้ำ endwhile.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์ ฟิสิกส์ โมเมนต์ และแรงคู่ควบ Moment & Couple Force โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

โมเมนต์ของแรง = แรง x ระยะจากแนวแรงตั้งฉากกับจุดหมุน โมเมนต์ของแรง     หมายถึง ปริมาณที่แสดงแนวโน้มของแรงที่จะหมุนวัตถุที่ถูกแรงนั้นกระทำมีค่าเท่ากับผลคูณของระยะทางจากแนวแรงตั้งฉากกับจุดหมุน หรือจุดที่คิดค่าโมเมนต์ถึงจุดที่แรงกระทำ โมเมนต์ของแรง = แรง x ระยะจากแนวแรงตั้งฉากกับจุดหมุน M = F x l

ทิศทางของโมเมนต์ โมเมนต์ของแรงสามารถแบ่งตามทิศของการหมุนได้ 2 ชนิด ดังนี้ 1.โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา เกิดแรงพยายามทำให้คานหมุนรอบจุดหมุน ในทิศตามเข็มนาฬิกา 2.โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา เกิดแรงพยายามที่ทำให้คานหมุนรอบ จุดหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกา

ส่วนประกอบของโมเมนต์ โมเมนต์ จะประกอบด้วย 1. วัตถุที่มีความยาว 2. จุดหมุน จุดที่ดึงวัตถุอยู่กับที่ หรือจุดฟัลครัม 3. มีแรงมากระทำต่อคาน โดยเขียนลูกศรแทนแรง ลูกศรชี้ไปทางไหน ทิศทางของแรงไปทางนั้น

ทิศทางของโมเมนต์ โมเมนต์ของแรงสามารถแบ่งตามทิศของการหมุนได้ 2 ชนิด ดังนี้ 1.โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา เกิดแรงพยายามทำให้คานหมุนรอบจุดหมุน ในทิศตามเข็มนาฬิกา 2.โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา เกิดแรงพยายามที่ทำให้คานหมุนรอบ จุดหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกา

หลักการของโมเมนต์ ถ้าโมเมนต์ย่อยแต่ละโมเมนต์ทำให้วัตถุหมุนไปในทางทิศเดียวกัน การหาขนาดของโมเมนต์รวมให้นำค่าของโมเมนต์ย่อยนั้นมารวมกัน โดยโมเมนต์รวมจะมีทิศทางไปในทางเดียวกับทิศทางของโมเมนต์ย่อย 2. ถ้าโมเมนต์ย่อยแต่ละโมเมนต์ทำให้วัตถุหมุนไปคนละทิศทาง การหาขนาดของโมเมนต์รวมให้นำค่าของโมเมนต์ย่อยนั้นมาหักล้างกัน โดยโมเมนต์รวมจะมีทิศทางไปในทางเดียวกับทิศทางของโมเมนต์ย่อยที่มีค่าโมเมนต์ของแรงมากกว่า

กฎของโมเมนต์ (Law of moment) เมื่อมีแรงหลายๆแรงกระทำบนวัตถุ แล้ววัตถุนั้นอยู่ในภาวะสมดุลจะได้ (ไม่เคลื่อนที่และไม่หมุน) พบว่า " ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา "

โมเมนต์แรงคู่ควบ = F1 * D แรงคู่ควบ (Couple Force) ถ้ามีแรงสองแรง F1 และ F2 มีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้าม และกระทำในแนวขนานกัน จะก่อให้เกิดโมเมนต์ เราเรียกแรงนี้ว่า แรงคู่ควบ โมเมนต์ของแรงคู่ควบมีค่าเท่ากับแรงคูณกับระยะทาง ระหว่างแรงทั้งสองที่ขนานกันดังนั้น โมเมนต์แรงคู่ควบ = F1 * D

ทฤษฎีของแรงคู่ควบ 1. ผลบวกตามพีชคณิตของโมเมนต์ของแรง 2 แรงที่กระทำต่อวัตถุ ซึ่งทำให้เกิดแรงคู่ควบคู่หนึ่งรอบจุดใด ๆ ในระนาบเดียวกัน ย่อมเป็นจำนวนค่าคงที่ และจะมีค่าเท่ากับโมเมนต์ของแรงคู่ควบนั้น 2. แรงคู่ควบ 2 คู่ หรือมากกว่า มากระทำรวมกันบนวัตถุชิ้นหนึ่งในระนาบเดียวกัน ส่งผลให้มีโมเมนต์รวมหมุนทวนเข็มนาฬิกา เท่ากับตามเข็ม วัตถุจะไม่หมุน จะทำให้ผลของโมเมนต์ของแรงคู่ควบเป็น 0 3. แรงคู่ควบหลายคู่มากระทำร่วมกันบนวัตถุชิ้นหนึ่ง ในระนาบเดียวกัน จะสามารถแทนได้โดยแรงคู่ควบคู่หนึ่ง ซึ่งมีโมเมนต์เท่ากับผลบวกของโมเมนต์ของแรงคู่ควบเหล่านั้น