บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต
หุ้นสามัญเป็นหลักทรัพย์แสดงความเป็นเจ้าของกิจการ ผู้ถือหุ้นสามัญจะมีฐานะเป็นเจ้าของกิจการ จึงมีสิทธิได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล ( Dividend ) เมื่อมีการประกาศจ่าย และได้รับส่วนเกินจากราคาซื้อขาย ( Capital Gain ) เมื่อขายหุ้นออกไป อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต
นโยบายการจ่ายเงินปันผล แบ่งได้ 3 ประเภท 1. จำนวนเงินปันผลต่อหุ้นคงที่ ( Stable Amount Per share ) 2. อัตราการจ่ายเงินปันผลคงที่ ( Constant Layout Ratio ) 3. จำนวนเงินปันผลปกติขั้นต่ำบวกเงินปันผลพิเศษ ( Low Regular and Extra Dividend ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายเงินปันผล 1. ข้อกำหนดตามกฎหมาย 2.สภาพคล่อง 3. ความสามารถในการกู้ยืม 4. เสถียรภาพของกำไร 5. ความจำเป็นในการชำระหนี้ 6. ข้อจำกัดในสัญญาเงินกู้ 7. การควบคุม 8. ฐานะทางภาษีของผู้ถือหุ้น 9. ภาวะเงินเฟ้อ 10. อัตราการขยายตัวของ สินทรัพย์ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต
ประเภทของการจ่ายปันผล 1. เงินสดปันผล ( Cash Dividend ) 2. หุ้นปันผล ( Stock Dividend ) 3. การแยกหุ้น ( Stock Splits ) 4. การซื้อหุ้นกลับคืน ( Stock Repurchase ) 5. การรวมหุ้น ( Reverse Split ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต