Flow Chart INT1103 Computer Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ภาษา SQL (Structured Query Language)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
Flowchart การเขียนผังงาน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำ (for).
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Flow Chart INT1103 Computer Programming

การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart) Pseudocodes และ PDL (Program Design Language)

ความหมายผังงาน ผังงาน คือ รูปภาพหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนลำดับ หรือขั้นตอนในโปรแกรม รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ที่จะใช้เป็นเอกลักษณ์ และแทนความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง

ประเภทผังงาน ผังงานระบบ (System Flowchart) แสดงถึงขั้นตอนการทำงานภายในระบบงานหนึ่ง ๆ แต่ละจุดประกอบด้วย Input-Process-Output ไม่สามารถเขียนโปรแกรมจากผังงานระบบได้ ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) แสดงถึงขั้นตอนของคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม อาจสร้างมาจากผังงานระบบ นำไปเขียนโปรแกรมคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่อไป

ประโยชน์ของผังงาน รู้และเข้าใจได้ง่าย ง่ายและสะดวกต่อการพิจารณาถึงลำดับขั้นตอนในการทำงาน ตรวจสอบความถูกต้องของลำดับขั้นตอนได้ง่าย การเขียนโปรแกรมทำได้รวดเร็วและง่ายขึ้น บำรุงรักษาหรือเปลี่ยนแปลงได้ง่ายขึ้น

ข้อจำกัดของผังงาน ใช้สื่อความหมายระหว่างบุคคลมากกว่าที่จะสื่อกับเครื่อง ไม่ทราบความสำคัญของแต่ละขั้นตอน สิ้นเปลือง เพราะใช้กระดาษและอุปกรณ์มาก ผังงานขนาดใหญ่ ปรับเปลี่ยนแก้ไขทำได้ยาก ในผังงานจะบอกเพียงลำดับอย่างไร และ ปฏิบัติงานอะไร ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคำสั่งในภาษา ได้ชัดเจนตรงไปตรงมา

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน หน่วยงานที่รวบรวมและกำหนดมาตรฐาน American National Standard Institute (ANSI) International Standards Organization (ISO)

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน การกำหนดค่าเริ่มแรก การรับข้อมูล การประมวลผล การแสดงค่าของข้อมูล การทดสอบ

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน การกำหนดค่าเริ่มแรก Start

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน การรับข้อมูล อ่านข้อมูล X

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน การประมวลผล X = X * Y

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน การแสดงค่าของข้อมูล แสดงค่า X ทางหน้าจอ

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน การทดสอบ X < 1?

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน สิ้นสุด End

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน เชื่อมต่อ

การจัดภาพและทิศทางของผังงาน จากบนมาล่าง จากซ้ายไปขวา และควรเขียนลูกศรกำกับทิศทาง สัญลักษณ์มีขนาดต่างกันได้ แต่ต้องมีรูปตามมาตรฐานที่กำหนด หลีกเลี่ยงการโยงไปมาในทิศทางตัดกัน คำอธิบายในภาพเขียนเพียงสั้น ๆ และเข้าใจง่าย ควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสะอาด และควรมีชื่อของผังงาน ผู้เขียน วันที่ที่เขียน และเลขหน้าลำดับ

Pseudocode และ PDL การเรียงลำดับ การตัดสินใจแบบทดสอบทางเลือก คำสั่งทำซ้ำ ๆ FOR และ END FOR REPEAT-UNTIL WHILE - END WHILE โปรแกรมย่อยหรือโมดูล

Flow Chart และ Pseudocode 1. โยนเหรียญ 2. ถ้าเหรียญออกหัว 2.1. ได้รับเงิน 10 บาท 3. ถ้าเหรียญออกก้อย 3.1. เสียเงิน 10 บาท 4. ทำงานครบ 3 ครั้งหรือยัง 4.1. ถ้ายังให้ไปทำข้อ 1 4.2. ถ้าครบแล้วให้ทำข้อ 5 5. หยุด

Practice จงเขียน Flow Chart ของการคำนวณเกรดเฉลี่ยของนักศึกษา 0. ให้ U = 0, G = 0, S = 0 และ i = 1 1. ให้ U = หน่วยกิตของวิชา i 2. ให้ G = เกรดของวิชา i 3. ให้เพิ่มค่า S = S + U x G 4. เป็นวิชาสุดท้ายหรือไม่ 4.1 ถ้าใช่ ทำข้อ 5 4.2 ถ้าไม่ใช่ 4.2.1 เพิ่มค่า i หนึ่งระดับ 4.2.2 ทำข้อ 1 5. นำ G มาหารด้วย i

Assignment (2 Marks) จงเขียน Flowchart และ Pseudo Code ในการคำนวณยอดชำระค่าน้ำประปา โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1 – 50 หน่วย คิดหน่วยละ 4.25 บาท 51 – 100 หน่วย คิดหน่วยละ 3.25 บาท ตั้งแต 101 หน่วยขึ้นไป คิดหน่วยละ 2.25 บาท Due Date 16 Jun, 2010