รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
กรมอนามัยยุคใหม่... ก้าวข้ามบริบทที่เปลี่ยนแปลง... แล้วไง?
เมนูชูสุขภาพ วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ถอดรหัสสุ่มประเมิน แท่ง เชียงราย / พะเยา เจาะลึกเฉพาะเชียงราย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการสำคัญ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย.
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ 142,234 แห่ง เป้าหมายการดำเนินงานอาหารสะอาด รสชาติ อร่อย ปี 2549 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน 60%
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและ นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้านที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 โดย...นพ.สมชัย นิจพานิช รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

โครงการสำคัญที่จังหวัดร่วมดำเนินการ โครงการอาหารปลอดภัย โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ โครงการอาหารฮาลาลในโรงพยาบาล

การดำเนินการขับเคลื่อน โครงการอาหารปลอดภัย การดำเนินการขับเคลื่อน 1) ระบบแผนบูรณาการ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ 2) ระบบตรวจสอบ ป้องกันด้านความปลอดภัย 3) ระบบควบคุม ส่งเสริมมาตรฐานสถานที่ผลิต/แหล่งกระจายอาหาร และหน่วยบริการอาหารของโรงพยาบาล 4)ระบบข้อมูล และการสื่อสาร รวมทั้ง education 5)ระบบการจัดการอุบัติการณ์ (incident management) 7 แหล่งอาหารเน้นเป็นพิเศษ 7 ประเภทอาหารเน้นเป็นพิเศษ ทุกจังหวัดดำเนินการส่งเสริม และตรวจสอบ แหล่งผลิต/ สถานที่ผลิต หน่วยบริการอาหาร และแหล่งกระจายอาหาร เพื่อรับรองมาตรฐานต้อง ผ่านเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ได้แก่ 1) โรงงานผลิต/แปรรูปอาหาร 2) ตลาดค้าส่ง 3) ตลาดสด 4) ตลาดนัด 5) ร้านอาหารแผงลอย ( CFGT และ เมนูชูสุขภาพ) 6) โรงพยาบาล (หน่วยบริการอาหาร) 7) ศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียน/สถานศึกษา (โรงอาหาร ขอให้ทุกจังหวัดสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัย และดำเนินมาตรการทางกฎหมาย(ตามความเสี่ยงของพื้นที่) ได้แก่ 1) น้ำมันทอดซ้ำ และน้ำมันไม่มีฉลาก อย.ที่จำหน่ายในตลาดสด ตลาดนัด รถเร่โดยเจตนาใช้ปรุงอาหาร 2) สารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหาร 3) น้ำดื่ม / น้ำแข็ง 4) อาหารและสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 5) นมโรงเรียน 6) เส้นก๋วยเตี๋ยว 7) อื่นๆ ที่เป็นปัญหาน่าสนใจ เช่น อาหารปลอดภัย ใจเป็นสุข

จุดเด่นของผลิตภัณฑ์อาหารชุมชนหรือ OTOP เอกลักษณ์ที่บ่งบอกว่าเป็นอาหารไทย มีความหลากหลาย ตามพื้นที่/ชุมชนที่ผลิตอาหาร ใช้ประโยชน์วัตถุดิบในท้องถิ่นให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ช่วยส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่

การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร การยกระดับมาตรฐานของอาหาร ที่ผลิตเพื่อบริโภคในประเทศ ในทุกระดับ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ชุมชน หรือ OTOP จะเป็นแรงหนุน ให้ประเทศคู่ค้า เกิดความเชื่อมั่น ในอาหารส่งออก มากยิ่งขึ้น ครัวไทยสู่ครัวโลก INDUSTRIAL ยกระดับมาตรฐาน การผลิตในระดับอุตสาหกรรม GMP ยกระดับมาตรฐาน SME การผลิตในระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม GMP OTOP ยกระดับมาตรฐาน การผลิตในระดับครัวเรือนและชุมชน primary GMP

ในปี 2555 นี้ กระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีนโยบายสนับสนุนให้อาหารในกลุ่มดังกล่าวต้องปฏิบัติได้ตามหลักเกณฑ์วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และเก็บรักษาอาหารแปรรูปในภาชนะบรรจุพร้อมจำหน่าย หรือ GMP Primary โดยต้องให้มีการจัดสถานที่ และกระบวนการผลิตให้สามารถลดการปนเปื้อนเบื้องต้น ป้องกันการปนเปื้อนข้าม และขจัดอันตราย ทั้งทางด้านกายภาพ เคมีและชีวภาพเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับอาหารที่ปลอดภัย

Roadmap การยกระดับมาตรฐาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย Primary GMP ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ธ.ค.-ม.ค.55 ก.พ. 55 ก.พ.-มี.ค.55 เม.ย.55 พ.ค.-มิ.ย.55 พิจารณาคัดเลือก สถานที่ผลิตอาหาร ที่ปฏิบัติได้ตาม หลักเกณฑ์ฯ 7 มิ.ย. 55 มอบเกียรติบัตร แก่ผู้ประกอบการ ที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ฯ ก่อนกฎหมายบังคับใช้ สำรวจ ความพร้อมผู้ประกอบการ โดยใช้หลักเกณฑ์ฯ จัดทำหลักเกณฑ์ และ(ร่าง)บันทึกการตรวจประเมิน(Checklist) สำรวจข้อมูลเพื่อกำหนดมาตรการรองรับการขอรับเลขสารบบอาหาร (ร่าง) ประกาศหลักเกณฑ์ที่ดี ในการผลิตอาหารสำหรับอาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย จัดทำคู่มือแนว ทางการตรวจ สถานที่ผลิตอาหาร สำหรับเจ้าหน้าที่ และผู้ประกอบการ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ซื้อผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศเชื่อมั่นในคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหารไทย อาหารไทยมีภาพลักษณ์ที่ดี ซึ่งช่วยในการการส่งออกสินค้าอาหาร และส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย ยกระดับคุณภาพมาตรฐานของสินค้า อาหารไทยในระดับ SME และ OTOP ให้สามารถแข่งขันในตลาดการค้าเสรีได้

โปรดเตรียมตัวให้พร้อม โครงการอาหารปลอดภัย primary GMP โปรดเตรียมตัวให้พร้อม

โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหาร และโภชนาการ ประเมินโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ(ปรับใหม่) ของ รพศ./รพท./รพช./รพ.ของศูนย์อนามัยทุกแห่ง ทุกจังหวัด 1. การบริหารจัดการ แต่งตั้งคกก./ประกาศนโยบายและสื่อสาร/มีแผนปฏิบัติงาน 100 คะแนน 2. การดำเนินงานอาหารปลอดภัยในรพ. วัตถุดิบปลอดภัย/ข้อมูลเครือข่าย/ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 20 คะแนน 3. สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ๓๐ ข้อ/ลดการปรุงอาหารหวาน มัน เค็ม/ ส่งเสริมการกินผักผลไม้/เมนูอาหารเฉพาะโรค/เมนูชูสุขภาพ/ ให้บริการอาหารฮาลาล 30 คะแนน 4.ร้านจำหน่ายอาหาร มีบันทึกตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร/ ได้รับป้าย CFGT/เมนูชูสุขภาพ/เมนูไร้พุง 5. จัดประชุมตามแนวทาง Healthy Meeting บันทึกการจัดเมนูอาหาร/รายงานการประชุม 10 คะแนน 6. คลินิกผู้ป่วยและการติดตามเยี่ยมบ้าน บันทึกการปฏิบัติงาน/ผลการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารผู้ป่วย/การจัดนิทรรศการ/การจัดอบรม

เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม 200 คะแนน ระดับดีเด่น ได้คะแนน 200 คะแนน ระดับดีเด่น ได้คะแนน 200 คะแนน ระดับดี ได้คะแนน 180-199 คะแนน ระดับพัฒนาได้ ได้คะแนน 160-179 คะแนน

เป้าหมาย โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทั่วไป ทุกโรงพยาบาล ในปี 2555 ผ่านการรับรอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ (คะแนน > 160 คะแนน )

โครงการอาหารฮาลาลในโรงพยาบาล พัฒนาการให้บริการอาหารฮาลาลที่มีคุณภาพ ปลอดภัย เหมาะสมตามสภาวะโรค และความเชื่อโดยผ่านการรับรองจากคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด เป้าหมายเดิม 10 แห่ง รพ.ชุมชน ใน 5. จังหวัดภาคใต้ เป้าหมายเพิ่มเติม 19 แห่ง รพ.ศูนย์+รพ.ทั่วไป 7 แห่ง รพ.หาดใหญ่ รพ.นครพิงค์ รพ.แม่สอด รพ.พระนครศรีอยุธยา รพ.วชิระภูเก็ต รพ.ระนอง รพ.กระบี่ รพ.ชุมชน 9 แห่ง รพ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช รพ.ยี่งอ จ.นราธิวาส รพ.ยะหริ่ง รพ.ปะนาเระ รพ.มายอ รพ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี รพ.สะเดา จ.สงขลา รพ.คลองท่อม จ.กระบี่ รพ.ตะโหมด จ.พัทลุง รพ. สังกัดกรมการแพทย์ 3 แห่ง รพ.ราชวิถี รพ.นพรัตน์ราชธานี สถาบันโรคทรวงอก

ขอบคุณครับ..