ปฏิบัติตาม 3 อ. บอกลา 2 ส. และเพิ่ม 1 ฟ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
Advertisements

ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โครงการ “ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง ”
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
งานวัยทำงาน กลุ่มเป้าหมาย พ่อ แม่ และประชาชนในวัยทำงาน
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
โรคเบาหวาน ภ.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปฏิบัติตาม 3 อ. บอกลา 2 ส. และเพิ่ม 1 ฟ. ปฏิบัติตาม 3 อ. บอกลา 2 ส. และเพิ่ม 1 ฟ. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ “สู้เบาหวาน ความดัน” ด้วยปิงปองจราจร 7 สี 25 พฤศจิกายน 2556 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย รองอธิบดีกรมอนามัย

กรอบการนำเสนอ สถานการณ์ปัญหาอ้วนทั่วโลกและประเทศไทย ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ของกรมอนามัย ปฏิบัติตาม 3 อ. บอกลา 2 ส. ขอเพิ่ม 1 ฟ. มาตรการคนไทยไร้พุง ลดเบาหวาน/ ความดัน โลหิตสูง สิ่งสนับสนุน ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

สถานการณ์ภาวะอ้วนทั่วโลก ในปี2008 พบประชาชนอายุ 20 ปีขึ้นไปทั่วโลก มีน้ำหนักเกิน(BMI 25-29.9 กก./ตร.ม) ร้อยละ 35 และมีภาวะอ้วน (BMI ≥30 กก./ตร.ม) ร้อยละ 11 ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ความชุกของภาวะอ้วนในผู้ใหญ่ทั้งชายและหญิง ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (BMI ≥25 กก. / ตร.ม.) Source: WHO Non-Communicable Diseases Country Profiles, 2011 Obesity in Thailand : Behold the Perfect storm by Bruce Bickerstaff ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

สถานการณ์อ้วน และภาวะอ้วนลงพุง ของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป เพศ ร้อยละ BMI ≥ 25 kg/m2 หญิง 40.7 ชาย 28.4 รอบเอวเกินเกณฑ์ 45.0 18.6 ที่มา : การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-52 ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

โรคอ้วน : การสูญเสียทางเศรษฐกิจ คนไทยต้องสูญเสียผลิตภาพ (Productivity loss) จากโรคอ้วน ได้แก่ เสียชีวิตก่อนวัยอันควร 12,404 ราย ขาดงานเนื่องจากรักษาใน รพ. 1,876,343 วัน หรือคิดเป็นเงินค่าเสียหายจากการขาดงาน เท่ากับ 694,246,728 บาท ประเทศต้องเสียค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาล ประมาณปีละ 5,584 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายโรคเบาหวานปีละ 24,489 ล้านบาท ปัญหานี้อาจสร้างภาระทางสุขภาพเท่ากับ หรือสูงกว่าการสูบบุหรี่ แหล่งข้อมูล : IHPP ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน กรมอนามัย ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ปัจจัยด้านชีวภาพ พันธุกรรม ทัศนคติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - ขาดการออกกำลังกาย ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพ พันธุกรรม ทัศนคติ อ้วนลงพุง ปัจจัยด้านพฤติกรรม Energy in (+) ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กินปริมาณมาก กินหวาน/มันมาก ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ด้วยการปฏิบัติตาม 3 อ. บอกลา 2 ส.” เพิ่ม 1 ฟ. “สู้เบาหวาน ความดัน ด้วยการปฏิบัติตาม 3 อ. บอกลา 2 ส.” เพิ่ม 1 ฟ.  อ. ออกกำลังกาย  อ. อารมณ์  ส. สุรา  ส. ยาสูบ  อ. อาหาร ฟ.ฟัน ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

2 ให้ 3 ไม่ อ.อาหาร กิน เพื่อ ลดพุง ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

2 ให้ 1 .ให้ กินครบ 3 มื้อ ครบ 5 หมู่ 2 . ให้ กินครบ 3 มื้อ ครบ 5 หมู่ 2 . ให้ ให้กินผักผลไม้ (ไม่หวาน) มาก ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

3 ไม่ 1 ไม่กินข้าวแป้งมาก 2 ไม่กินหวาน มันมาก 3 ไม่กินจุบจิบ ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

อาหารไขมันสูง ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

อาหารโซเดียมสูง ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ออกกำลังกายเพื่อลดพุง อ.ออกกำลังกาย ออกกำลังกายเพื่อลดพุง ออกกำลังกายแบบแอโรบิค ออกสัปดาห์ละ 5 – 6 วันๆละ 30 – 60 นาที ขยับเท่ากับออกกำลังกาย ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

สิ่งกระตุ้นที่ทำให้หิว อ. อารมณ์ สกัด สิ่งกระตุ้นที่ทำให้หิว หลีกเลี่ยงการไปศูนย์อาหาร /ที่มีอาหารมาก สะกด ใจไม่ให้กินเกิน สะกดอารมณ์ไม่ให้อยากลองกิน / ไม่กินมากเกินไป สะกิด ให้คนรอบข้างช่วย เตือน / เป็นกำลังใจขณะลดน้ำหนัก ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ส . ยาสูบ ผู้สูบบุหรี่ ควรเลิกสูบ ทำจิตใจให้เข็มแข็ง ทิ้งบุหรี่และที่เขี่ยบุหรี่ให้พ้นสายตา อยู่ให้ห่างจากสภาพแวดล้อมเดิม หากิจกรรมทำ คอยย้ำเตือนตัวเองอยู่เสมอ ผู้ไม่สูบ ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ผู้สูบบุหรี่ ไม่ใช้ ไม่รับ ไม่สนับสนุนโฆษณายาสูบร้าย ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ส. สุรา ไม่ควรเริ่มดื่มแอลกอฮอล์ หากเป็นผู้ที่ดื่มอยู่แล้วควรลดปริมาณลง - ผู้ชาย ดื่มไม่เกิน 2 แก้วมาตรฐาน ต่อ วัน - ผู้หญิง ดื่มไม่เกิน 1 แก้วมาตรฐาน ต่อ วัน 1 แก้วมาตรฐาน หมายถึง เบียร์ 1 แก้ว ไม่เกิน 360 มล. (แอลกอฮอล์ 5%) ไวน์ 1 แก้ว ไม่เกิน 120 มล. (แอลกอฮอล์ 12%) เหล้า 1 แก้ว ไม่เกิน 45 มล. (แอลกอฮอล์ 40%) ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

มาตรการคนไทยไร้พุง ลดเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง การสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วม : - ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและ โภชนาการ -โรงพยาบาลต้นแบบด้านโภชนบำบัดเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

มาตรการคนไทยไร้พุง ลดเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง 2. การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง / เอื้อต่อ สุขภาพ : - เมนูชูสุขภาพ - เมนูไร้พุง - อาหารลดหวาน มันเค็ม เติมเต็มผักและผลไม้ 3. การเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ : - คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality) ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

มาตรการคนไทยไร้พุง ลดเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง 4. การสื่อสารและการสร้างกระแสด้านโภชนาการ - จัดนิทรรศการ - รณรงค์ - การเยี่ยมบ้าน ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

“จัดการปัจจัยเสี่ยงร่วม (common risk factor) ” ตามปิงปองจราจร 7 สี เพิ่ม 1 ฟ. ฟัน “จัดการปัจจัยเสี่ยงร่วม (common risk factor) ” ตามปิงปองจราจร 7 สี หลักการที่เหมือนกัน 1. อาหาร : 2 ให้ 3 ไม่ 2. บอกลา 2 ส. เพิ่มการทำความสะอาดช่องปาก เพิ่มการตรวจสุขภาพช่องปากในกลุ่มที่ตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพช่องปากตามปิงปอง 7 สี และดำเนินการในพื้นที่ทดลอง ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

สิ่งสนับสนุน 1. หนังสือ - โรคอ้วนลงพุง (metabolic syndrome) ภัยเงียบที่คุณคาดไม่ถึง - คู่มือ พิชิตอ้วน พิชิตพุง - อิ่มอร่อยได้สุขภาพ สไตด์เบาหวาน - กินเค็มน้อยลงซักนิด พิชิตโรคความดันโลหิตสูง - คู่มือการป้องกันและบำบัดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วยการออกกำลังกาย 2. ภาพพลิก - ภาพพลิกกินหวานแค่ไหนไม่ป่วย - ภาพพลิกกินมันแค่ไหนไม่ป่วย - ภาพพลิกเค็มแค่ไหนไม่ป่วย 3.แผ่นพับ - แผ่นพับ ชวนกันช่วยคิดสลายพุง - สุขภาพดีเริ่มที่...อาหารลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็ม ผัก ผลไม้ เพิ่มขึ้น ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ขอบคุณ และ สวัสดีครับ ดร.นายแพทย์พรเทพ ศิริวณารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย