แผนหลัก 2552-2554 สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการสนับสนุน รพสต.
Advertisements

วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
( Healthy Public Policy ).  มีนโยบายสาธารณะในการควบคุม การบริโภคอาหาร เครื่องดื่ม ยา และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลเสียต่อ สุขภาพ  มีนโยบายสาธารณะที่ส่งเสริมการ.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนหลัก สรุปทิศทาง

สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

ยุทธศาสตร์ตามแผนหลัก ยุทธศาสตร์ 1 พลัง ปัญญา พลัง นโยบาย พลัง สังคม สสส. 3 2

แผนหลักปัจจุบัน แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4แผน 5 แผน 6 แผน 7 1 : แผนควบคุมการบริโภคยาสูบ 2 : แผนควบคุมการบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 3 : แผนสนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุจราจร และอุบัติภัย 4 : แผนส่งเสริมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อ สุขภาพ 5 : แผนควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 6 : แผนการเรียนรู้เพื่อสุขภาวะ 7 : แผนสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กร 8 : แผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน 9 : แผนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพผ่าน ระบบบริการสุขภาพ 10 : แผนสนับสนุนโครงการทั่วไปและนวัตกรรม 11 : แผนสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม 12 : แผนสร้างเสริมสุขภาวะในประชากรกลุ่ม เฉพาะ 13 : แผนพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนเพื่อ การสร้างเสริมสุขภาพ

ทิศทาง ภาพรวม 3

ยกระดับความสำคัญ : –กลุ่มเด็กเยาวชนและครอบครัว –องค์กรท้องถิ่น/ชุมชน –ประชากรกลุ่มเฉพาะ/ขาดโอกาส มุ่งสร้างเสริมสุขภาวะทั้งสี่มิติให้มีความสมดุล ยิ่งขึ้น ยกระดับบูรณาการงานในพื้นที่ (จัดงบไว้ 10%) เปิดโอกาสให้ภาคีหลากหลายเข้าร่วมงาน ภาพรวม 4

ทิศทาง จำแนกตาม รายแผน (2552) 6

การควบคุมการบริโภคยาสูบและ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พัฒนาเป้าหมายร่วมของประเทศในระดับผลลัพธ์ - เช่น เป้าการลดอัตราผู้สูบบุหรี่/ ผู้ดื่มแอลกอฮอล์ ประจำใน 5 ปีข้างหน้า คงมาตรการเน้นหนักในกลุ่มเยาวชน ผู้มีเศรษฐานะ ต่ำ พื้นที่ชนบท พื้นที่เสี่ยง (เช่น ภาคใต้-ยาสูบ) สนับสนุน พรบ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้ มีผลบังคับใช้ ทั้งในระดับชาติ และจังหวัด ทั้ง โดยภาครัฐ และภาคประชาสังคม สร้างความเข้มแข็งให้กลไกระดับจังหวัดและ ท้องถิ่น ร่วมกับประเด็นสุขภาพอื่น พัฒนาสายด่วนเลิกบุหรี่แห่งชาติ ผลักดันสู่การออก กฎหมายให้พิมพ์หมายเลขลงบนซองบุหรี่ 01 7

แผนสนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนและอุบัติภัย สนับสนุนพัฒนาและการดำเนินงานตาม แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน แห่งชาติ ( ) ส่งเสริมความเข้มแข็งกลไกจังหวัดใน มาตรการ 5 Es อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 70 จังหวัด โดยเป็นจังหวัดนวัตกรรมอย่าง น้อย 8 จังหวัด 03 9

แผนควบคุมปัจจัยเสี่ยงทาง สุขภาพ ประชาชน 2 ล้านคน ได้รับการฝึกทักษะ ควบคุมน้ำหนัก (คนไทยไร้พุงฯ) โรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก 3,000 แห่ง (ครอบคลุมนักเรียน 3 แสนคน) มีการ ดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพเพื่อควบคุม ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ สนับสนุน “นมแม่” “อาหารปลอดภัย” “โภชนาการ” “เด็กไทยไม่กินหวาน” ฯ 04 10

สุขภาวะประชากรกลุ่มเฉพาะ ผลักดันการบรรจุมาตรการคัดกรองความพิการทาง การได้ยินในทารกแรกเกิดให้อยู่ในสิทธิประโยชน์ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และ ขยายบริการฝึก Orientation & Motility สำหรับคนตาบอดปีละ 1,000 คน พัฒนาข้อเสนอนโยบายเรื่องระบบบำนาญแห่งชาติ สำหรับผู้สูงอายุ ครอบคลุมกลุ่มผู้สูงอายุในอนาคตซึ่ง ปัจจุบันยังไม่มีหลักประกันรายได้ในวัยหลังเกษียณกว่า 20 ล้านคน 05 11

สุขภาวะชุมชน ร้อยละ 25 ของตำบล (อปท.) หรือประมาณ 2000 องค์กร มีรูปธรรมการจัดการสุขภาวะ โดยชุมชนเองและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน (ใน 3 ปี) 06 12

สุขภาวะเด็ก เยาวชน และ ครอบครัว สนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์และการพัฒนา เครือข่าย ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 200,000 คน สนับสนุนการสร้างและจัดการความรู้ ครอบคลุมเด็ก เยาวชนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะ ในศูนย์เรียนรู้ในชุมชนหรือตำบล พัฒนาบทบาทของครอบครัวทุกมิติใน 1,000 ชุมชน 07 13

สุขภาวะในองค์กร สนับสนุนองค์กร (สถานประกอบการ สถาบันการศึกษา องค์กรรัฐ ศาสนสถาน) ให้เป็นต้นแบบในการมีนโยบายและกลไกที่ เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาวะ อย่างน้อย 500 แห่ง 08 14

การออกกำลังกายและกีฬาเพื่อ สุขภาพ ในสามปี จะเพิ่มอัตราการออกกำลังกายของ ประชากรที่อายุ 11 ปีขึ้นไปประมาณ 3 ล้าน คน มุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายเด็ก เยาวชน และ กลุ่มวัยทำงาน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมใน พื้นที่มีส่วนร่วมกำหนดมาตรการและกิจกรรม และเป็นองค์กรต้นแบบ 09 15

การสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม ร้อยละ 70 ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย มี โอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เกิดทัศนคติและ ค่านิยม ที่นำไปสู่พฤติกรรมสร้างเสริมสุข ภาวะ ให้ความสำคัญกับการผลิตสื่อต้นแบบที่ สร้างสรรค์ โดยเฉพาะต่อเด็กและเยาวชน พัฒนาช่องทางสื่อสารสุขภาพของภาคี สสส. ที่หลากหลายขึ้น สนับสนุนและผลักดันกลไกการสร้างสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์บนโลกออนไลน์ 10 16

20