โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล น.พ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พ.บ., อ.ว., MPHM ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
ที่มา ปัญหา + นโยบาย + คณะทำงาน ชื่อ “รพ. ส่งเสริมสุขภาพตำบล” (รพ. สต.) ขอบเขตการให้บริการ เน้น ส่งเสริม + ป้องกัน ระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน รักษา + ส่งต่อ มีคุณภาพมากขึ้น เชื่อมต่อแม่ข่าย การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น และชุมชน กรรมการบริหาร รพ. สต.
5. เป้าหมาย ปี 52: อำเภอละ 1 แห่ง: ทั้งประเทศ 1,000 แห่ง ปี 53: เพิ่มอีก 1,000 แห่ง 6. การสนับสนุนจากส่วนกลาง ปี 52: งบ สปสช. 2 แสน/แห่ง (x 1,000) ปี 53: งบ SP2 1.35 ล้าน/แห่ง (x 2,000) งบ สปสช. 2 แสน/แห่ง (x 2,000) 7. มีการประเมิน เมื่อสิ้นกันยายน โดยเขต + ส่วนกลาง
ประเด็นการประชุมกลุ่ม กำหนดเป้าหมาย สถานีอนามัยที่จะยกฐานะ เป็น รพ. ส่งเสริมสุขภาพตำบล การบริหารจัดการที่จะดำเนินการ 2.1 ขอบเขตการให้บริการ 2.2 การสนับสนุนงบประมาณ ในส่วนของพื้นที่ 2.3 การสนับสนุนกำลังคน 2.4 การเชื่อมต่อกับ รพ. แม่ข่าย การสนับสนุนในการบริหารจัดการของหน่วยบริการ 3.1 สสอ. 3.2 จังหวัด 3.3 เขตตรวจราชการ แผน และเวลาที่จะเริ่มดำเนินการ
Hph_moph@hotmail.com ส่ง mail มายัง e mail นี้ (กรุณาแนะนำตัวด้วย จะได้บันทึกไว้ถูกต้อง) รอการตอบรับ เพื่อเชิญเข้ามายัง web. Click ที่ hph_moph@hotmail.com
การเลือกเป้า รพสต. สสอ./สสจ. ส่งเป้าพร้อมแผนปฏิบัติการ (200,000) ไปยัง ผู้ตรวจและสปสช.เขต ผู้ตรวจ พิจารณา/เรียงลำดับ ส่งไปยัง ปลัด สปสช.เขต พิจารณา ส่งไป เลขา สปสช. สธ/สปสช. พิจารณา/โอนเงิน กันยายน ผู้ตรวจ/ทีมประเมิน ลงพื้นที่ประเมิน รพสต. 30 กันยายน ประกาศ “เปิดการให้บริการอย่างเป็นทางการ”
http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf
http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf
อัตราการสูญเสียปีสุขภาวะใน 3 กลุ่มโรค Dr.Supakit Sirilak
อัตราการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลของโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ที่มา รายงานการสาธารณสุขไทย พ.ศ. 2544-2547
ภาระทางสุขภาพ 20 อันดับแรกของประชากรไทย พ.ศ. 2547 ที่มา: คณะทำงานศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง
ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ ที่ทำให้สูญเสียปีสุขภาวะ ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข
นโยบายรัฐบาล นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ Dr.Supakit Sirilak นโยบายรัฐบาล นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ข้อ 3.3.3 ปรับปรุงบริการด้านสาธารณสุข......... ยกระดับสถานีอนามัยเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระบบบริการสุขภาพของไทย โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94) บริการตติยภูมิ จังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724) บริการทุติยภูมิ อำเภอ (10,000-100,000) สถานีอนามัย (9,770) บริการปฐมภูมิ ตำบล (1,000-10,000) ศสมช สาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้าน (80,000) SELF CARE ครอบครัว PCU ระบบบริการสุขภาพของไทย Dr.Supakit Sirilak ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง
นิยามโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล เน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระัดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน พร้อมกับมีความสามารถในการให้บริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น โดยเป็นเครือข่ายกับโรงพยาบาลชุมชน หรือ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และสามารถส่งต่อผู้ป่วยได้ตลอด 24 ชั่วโมง 16
ลักษณะที่สำคัญ มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีพื้นที่รับผิดชอบ (catchment area) ในระดับตำบล และมีเครือข่ายร่วมกับสถานีอนามัย และ หน่วยบริการสุขภาพอื่น ในตำบลข้างเคียง เน้นการให้บริการแบบเชิงรุก ที่มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับบริบทความพร้อม/ ศักยภาพของชุมชน บุคลากรที่มีความรู้และทักษะแบบสหสาขาวิชา (skill mix) ทำงานเป็น team work มีการให้บริการสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกับบริการสุขภาพในระดับอื่นที่สูงกว่าโดยสามารถส่งต่อผู้ป่วยได้ตลอด 24 ชั่วโมง มีการปฏิรูปการบริหารจัดการ (3/4 ประสาน)โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ประชาชน อปท. ภาคราชการ เอกชน และทุกภาคส่วน 17
ขอบเขตการให้บริการ ให้บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและรักษาพยาบาลกับประชากร บุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมถึงเรื่องสิ่งแวดล้อม 18
ขนาด โรงพยาบาลตำบลขนาดเล็ก – ประชากรไม่เกิน 3000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 5 คน โรงพยาบาลตำบลขนาดกลาง – ประชากรไม่เกิน 6,000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 7 คน โรงพยาบาลตำบลขนาดใหญ่ – ประชากรมากกว่า 6,000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 9-10 คน 19
เป้าหมายและระยะเวลา ระยะ จำนวนโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล ช่วงเวลา Phase 1 – ระยะเริ่มต้นและนำร่อง 1,000 แห่งในอำเภอที่มีความ พร้อมของ CUP และอำเภอที่ เหลือทั่วประเทศ กันยายน 2552 Phase 2 – ระยะขยายผล เพิ่มเติมอีก 1000 แห่ง กันยายน 2553 Phase 3 – ขยายครอบคลุมทั่วประเทศ ในตำบลที่เหลือทั้งหมด ตุลาคม2554 –กันยายน2562 Phase 4 – ติดตามประเมินผลและสนับสนุนการพัฒนา ตุลาคม 2553 – กันยายน 2562
แนวคิดการดำเนินงานโครงการ ส่งเสริมศักยภาพเครือข่าย สนับสนุนกลไกการบริการจัดการ วิจัยเพื่อการพัฒนา สร้างภาพลักษณ์และปรับกระบวนทัศน์ ระบบบริหารจัดการโครงการ ติดตามประเมินผล 21
แนวทางปฏิบัติ รพ.สต. โครงสร้างพื้นฐานที่ควรปรับปรุง ขอบเขตบริการ บุคลากร การเงินการคลัง การบริหารจัดการ/ส่วนร่วม ระบบสนับสนุน
1.โครงสร้างพื้นฐานที่ควรปรับปรุง อาคารตรวจรักษา เตียงเฝ้าสังเกตอาการ ระบบการสื่อสารกับรพ.แม่ข่าย (Appropriate IT) ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ตามมาตรฐาน พาหนะเยี่ยมบ้าน, ส่งต่อ
2.ขอบเขตบริการ รักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ ให้คำปรึกษา ส่งต่อ รวดเร็ว ครบวงจร คัดกรองผู้ป่วยเรื้อรัง เยี่ยมบ้าน ดูแลผู้ป่วย เพิ่มศักยภาพบุคคลในครอบครัว เครือข่าย อสม. ตรวจ กระตุ้นพัฒนาการ ในเด็ก วัคซีน ผู้สูงอายุ
2.ขอบเขตบริการ (ต่อ) หญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับ ธาตุเหล็ก+โฟลิค กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ การออกกำลังกาย บุคคลและชุมชน ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมอาหารปลอดภัย คนไทยไร้พุง
3.บุคลากร ปรับย้ายกำลังคน (โยกย้ายภายใน/ชดเชยกำลังคน) สรรหาบุคลากรใหม่ ตำแหน่งข้าราชการ ระบบจ้างงานใหม่ (ระเบียบใหม่,สิทธิประโยชน์,สัญญาจ้าง) เพิ่มศักยภาพของบุคลากร (อบรม,ศึกษาต่อ,ผลิตใหม่) ผลิตเพิ่ม (ทำแผนระยะกลาง) อสม./ลูกจ้าง
4.การเงินการคลัง งบ Stimulus Package 2 ตั้งแต่ปี 53 งบลงทุนของเขต/จังหวัด งบดำเนินงาน 200,000 ต่อแห่ง (1,000 แห่ง) งบเพิ่มเติมจาก CUP/สสจ. งบ PP area base ที่อยู่ในระดับเขตและจังหวัด กองทุนสร้างเสริมสุขภาพตำบล งบ อปท. อื่นๆ
4.การเงินการคลัง งบ Stimulus Package 2 ตั้งแต่ปี 53 (2,151) สิ่งก่อสร้าง 500,000 บาท ครุภัณฑ์ 855,000 บาท รถพยาบาล (รพ. 829) รถกระบะ สอน. (63)
5.บริหารจัดการ/การมีส่วนร่วม คณะกรรมการบริการ รพสต.(3/4 ประสาน) กระบวนการประชาคมในการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่
6. ระบบสนับสนุนที่ต้องการ ระบบข้อมูลสุขภาพ (health information system) ระบบการปรึกษาทางไกล (Real time consultation) ระบบการส่งต่อ (Referral System) การแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่มีคุณภาพเช่นเดียวกับโรงพยาบาลแม่ข่าย การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนและ อปท. 30
มาตรฐานขั้นต่ำของ รพสต. บริหารงานโดยคณะกรรมการ ข้อมูลครอบครัว (Family Folder) ระบบการรักษาพยาบาลที่มีการปรึกษากับแม่ข่าย ระบบส่งต่อ เครือข่าย ฯลฯ ???
ประชาชนได้อะไร ความครอบคลุม (coverage) ของบริการขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น การให้วัคซีน การฝากครรภ์ ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน อื่นๆ คุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนดีขึ้น อัตราทารกตาย และ แม่ตายลดลง การเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในระดับตำบลดีขึ้น ลดความแออัดของโรงพยาบาลแม่ข่ายลง จำนวนผู้ป่วย ข้ามจากตำบลมาโรงพยาบาลอำเภอ/จังหวัดลดลง การนอนโรงพยาบาลจากโรคแทรกซ้อนหรือโรคป้องกันได้ลดลง 32
ประชาชนได้อะไร มีการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังลดลง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมารับบริการจำนวนเพิ่มขึ้น (คน/ครั้ง) อัตราตายลดลง 33
รพ.ศูนย์ (ศูนย์ส่งต่อ) คิดการส่งต่อเชื่อมโยงถึง Primary Care ศูนย์ประสานการส่งต่อเขต จนท. ประจำ 24 ชั่วโมง สนับสนุน/ที่ปรึกษาวิชาการ ปรับข้อมูล คน+ของเป็นปัจจุบัน ประสานการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เป็นทีมวิชาการให้ คกก. ระบบส่งต่อผู้ป่วย รพ.ศูนย์ (นอก จว.) รพ.ศูนย์ (ศูนย์ส่งต่อ) รพ.ทั่วไป (นอก จว.) รพ.ทั่วไป ส่งต่อ รสต. รพ.ชุมชน คิดการส่งต่อเชื่อมโยงถึง Primary Care สอ. รสต. สอ. จัดระบบนัดหมายเพื่อส่งต่อ รพ. แม่ข่าย/ อปท. ดูแล การรับผู้ป่วย สอ. รสต.
สวัสดี Lake Como, Bellagio, Italy