การจัดองค์ประกอบภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
Advertisements

การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
Graphic Design for Video
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
ต้องโปสเตอร์แบบไหน จึง “ได้” และ “โดน” ใจคนดู
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
ประโยคใจความสำคัญ ประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในย่อหน้านั้น
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
การพัฒนาเว็บ.
Google Maps.
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
การสร้างงานกราฟิก.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
แหล่งรวมรูปภาพสำหรับงานกราฟิกและงานออกแบบ
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
CONTRAST- EMPHASIS.
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
Touch Screen.
โปรแกรม DeskTopAuthor
นางสาววิรากร ใจเอื้อย การสร้างแผนภูมิ ตอนที่ 10 นางสาววิรากร ใจเอื้อย
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
บทที่ 5 สีและการจัดองค์ประกอบของภาพ
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
สี (Color).
Mind Mapping.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
….WETCOME…. TO HOMEPAGE. โฮมเพจ (Home Page ) เป็นผลผลิตของไฮเปอร์เท็กซ์ ที่ผู้เข้าไปใช้ บริการอินเตอร์เน็ตพบเห็นกันมากที่สุด ผู้ให้บริการ อินเตอร์เน็ต.
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
หลักการแก้ปัญหา
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการถ่ายภาพ.
เว็บเพจ (Web Page).
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
จุดเด่น Windows XP นี้ก็ได้ถือกำหนดใหม่ขึ้นมา โดยนำความสามารถ ของ Windows รุ่นก่อน ๆ เช่น 98, Me และ 2000 เข้าด้วยกัน จุดเด่นหลัก ของของ Windows XP นี้
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
….WETCOME…. TO HOMEPAGE.
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการและขั้นตอน การออกแบบเว็บไซต์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดองค์ประกอบภาพ

การจัดองค์ประกอบภาพ : Composition การจัดวางองค์ประกอบภาพ คือการจัดวางองค์ประกอบที่มีอยู่ในภาพให้ได้ภาพรวมของงานที่สวยงาม และสื่อความหมาย ซึ่งมีหลักการ 2 อย่าง การสร้างเอกภาพ (Unity) การสร้างจุดเด่น เน้นจุดสำคัญ (Emphasize) การวางจุดสนใจในงาน Focus Point การสรางความแตกตางในงาน Contrast การวางแยกองค์ประกอบให้โดดเดน Isolation

การจัดองค์ประกอบภาพ : Composition สมดุลในงานออกแบบ Balance ขนาดและสัดส่วนขององคประกอบ Scale & Proportion ที่วางในงานออกแบบ Spacing

เอกภาพ คือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นจุดเริ่มต้นในการจัดองค์ประกอบของภาพ องค์ประกอบในภาพ ต้องมีความกลมกลืนกัน เป็นพวกพ้องกัน ไม่ขัดกัน

การวางจุดสนใจในงาน การวางตำแหน่งขององค์ประกอบที่จะเน้นให้เกิดจุดสนใจ จะวางในตำแหน่งที่ 1,3,2 และ 4 เป็นหลัก โดยแต่ละตำแหน่งมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป 1 2 4 2 3

การวางจุดสนใจในงาน ตำแหน่ง 0 เป็นตำแหน่งที่ไม่ควรวางองค์ประกอบที่ต้องการเน้น เพราะเป็นตำแหน่งที่สายตาคนส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสนใจนัก เพราะอยู่ในช่วงครึ่ง ๆ กลาง ๆ ของภาพ ซึ่งลดแรงดึงดูดทางสายตา ตำแหน่ง 1 เป็นตำแหน่งที่คนส่วนใหญ่เห็นเป็นอันดับแรก เนื่องจากความเคยชินในการกวาดตาเพื่ออ่านหนังสือ ตำแหน่ง 2 เป็นตำแหน่งที่มีพลังในการดึงดูดสายตา มีความเฉียบ จึงเหมาะที่จะจัดวางองค์ประกอบที่ต้องการเน้น เนื่องจากเป็นตำแหน่งที่เรียกร้องความสนใจจากสายตาได้ดี

การวางจุดสนใจในงาน ตำแหน่งหมายเลข 3 เป็นตำแหน่งที่สืบเนื่องมาจากตำแหน่งที่ 1 เพราะเป็นตำแหน่งสุดท้ายที่คนส่วนใหญ่กวาดสายตามอง ตำแหน่งหมายเลข 4 เป็นตำแหน่งที่คนส่วนใหญ่มักจะให้เป็นตำแหน่งที่มีความสำคัญที่สุดในงาน ถึงแม้จะไม่เป็นจุดเรียกร้องสายตามากเท่ากับจุด 1,2,3 แต่ก็เป็นจุดรวมสายตาของผู้ชมที่มีต่องาน ตำแหน่ง 1 กับ 3 จะมีพลังในการดึงดูดสายตามากกว่าตำแหน่ง 2 เพราะคนส่วนใหญ่มักกวาดสายตาจากมุมซ้ายบน ไปยังมุมขวาล่าง ตำแหน่ง 0 สามารถวางองค์ประกอบให้น่าสนใจได้ เพราะบางครั้งทิศทาง หรือเส้นสายจากองค์ประกอบอื่น ๆ อาจพุ่งเน้นมายังตำแหน่งนี้ก็ได้

ตัวอย่างการจัดองค์ประกอบ 1 2 4

การสร้างความแตกต่าง ความแตกต่างเป็นตัวกำหนดน่าสนใจหรือความโดดเด่นของภาพได้ดี แต่ไม่ควรให้มีความแตกต่างมากเกินไป เพราะจะทำให้ภาพไม่มีเอกภาพ มากกว่าจะก่อให้เกิดจุดสนใจ ภาพตัวอย่าง เป็นการใช้ภาพที่โดดเด่น แตกต่างจากพื้นหลังสลัว ขับให้ภาพของอุปกรณ์ดูคมชัด และโดดเด่นขึ้น

การสร้างความแตกต่าง

การวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่น การวางองค์ประกอบให้โดดเด่น คือการแยกองค์ประกอบออกมา ให้ผู้ชมงานสังเกตุเห็นองค์ประกอบนั้นได้ง่าย แต่ต้องคำนึงถึง ขนาดและสัดส่วนในการจัดองค์ประกอบ (Scale & Proportion) ที่ว่างในงานออกแบบ(Spacing) สมดุลในงานออกแบบ (Balance) จังหวะขององค์ประกอบในงาน (Rhythm)

ตัวอย่างการวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่น

ขนาดและสัดส่วนในการจัดองค์ประกอบ Scale & Proportion ขนาดขององค์ประกอบมีบทบาทในการกําหนดความสำคัญขององค์ประกอบนั้น ๆ องค์ประกอบขนาดใหญ่จะสื่ อ ความหมายว่าตัวเองสำคั ญ ก ว่า องค์ประกอบที่มีขนาดเล็ก ที่ว่างในงานออกแบบ Spacing Spacingที่ว่างที่อยู่รอบ ๆ องค์ประกอบในภาพจะสอดประสานกับองค์ประกอบที่อยู่ในภาพ ทำให้ภาพเกิดความเป็นภาพ และมีอิทธิพลในการสื่อความหมายได้

Scale & Space

สมดุลในงานออกแบบ Balance การจัดองคประกอบงานออกแบบ การสร้าง ความสมดุลขององค์ประกอบ ช่วยให้ภาพรวมของงานดูดี แบ่งออกเปน 2 ชนิด 1.สมดุลแบบแนวแกน 2 ขางเหมือนกัน 2.สมดุลแบบแนวแกน 2 ขางไม่เหมือนกัน

สมดุลแบบแนวแกน 2 ขางเหมือนกัน

สมดุลแบบแนวแกน 2 ขางไม่เหมือนกัน

Reference สู่เส้นทางกราฟิกดีไซเนอร์ โดยโสรชัย นันทวัชรวิบูลย์ สำนักพิมพ์ ARiP http://www.colormatters.com/colortheory.html http://www.worqx.com/color/color_basics.htm Color for E-Commerce http://www.colormatters.com/des_ecom.html http://members.cox.net/mrsparker2/teacher.htm