Chapter 6 Project Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
ความหมายของการวางแผน
ประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานฯ คณะที่ปรึกษาโครงการ AM/FM/GIS
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
Project Management and Control
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
Information System Project Management
การบริหารโครงการ (Project Management)
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
บทที่ 15 การออกแบบระบบ.
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Software Process Models
การติดตาม และประเมินโครงการ.
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
Software Quality Management
Waterfall model แบบจำลองน้ำตก
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
TRANSFORMER INTERNAL AUDITOR
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารโครงการ (Project anagement)
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
แบบจำลองกระบวนการซอฟต์แวร์
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
บทที่ 4 Plan การวางแผน.
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
การเพิ่มผลผลิต Productivity
Geographic Information System
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
การบริหารจัดการ PDCA cycle
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
Chapter 13 Project Management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 6 Project Management การบริหารจัดการโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์

Topics Risk Management Resource Management Change Management Project Closure

Risk Management Risk หมายถึง ความเสี่ยง ความเสี่ยงที่ว่านี้คือโอกาสที่ก่อให้เกิดความสูญเสียหรือล้มเหลว โดยที่ความเสี่ยงนี้อาจจะเกิดสาเหตุหลายประการเช่น ด้านบุคลากร ด้านเทคโนโลยี บริหารจัดการ ฯลฯ

Risk Management การบริหารจัดการความเสี่ยงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักดังนี้คือ การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) Risk Identification Risk Analysis Risk Prioritization การควบคุมความเสี่ยง (Risk Control) Risk Management Planning Risk Resolution Risk Monitoring

Risk Assessment การประเมินความเสี่ยงเปรียบเสมือนเป็นการค้นหาความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ก่อนที่ปัญหานั้นจะลุกลาม และส่งผลให้โครงการนั้นล้มเหลวได้ โดยในกระบวนการในการประเมินความเสี่ยงจะเริ่มต้นด้วยการ กำหนดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น (Risk Identification) หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์ความเสี่ยงว่าจะส่งผลต่อระบบงานมากน้อยเพียงใด (Risk Analysis) กระบวนการสุดท้ายคือการจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง เพื่อจะได้ทราบถึงว่าความเสี่ยงใดควรจะต้องดำเนินการก่อน-หลัง (Risk Prioritization)

Risk Identification ในการกำหนดความเสี่ยงสามารถจัดทำ Check List เพื่อทำการตรวจสอบความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในโครงการดังนี้ Risk Type Possible Risk Requirements Mismatch Requirement Chang Lack of Customer involvement Excessive Requirement People Personal Shortfalls Skill mismatch/Lack of knowledge Success Model Clashes Technology Technology Change Tools -Inefficient CASE Tools Organizational -Organization restructure/Financial problems Estimation -Underestimated

Risk Analysis การวิเคราะห์ความเสี่ยง สามารถแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ส่วนดังนี้คือ Possibility โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Loss ความเสียหาย หากความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ในลักษณะของ Possibility และ Loss ของแต่ละโครงการมีความแตกต่างกันไปตามโครงการ หากในฐานะผู้จัดการโครงการต้องทำการวิเคราะห์ประเด็นทั้ง 2 และนำมาวิเคราะห์ในรูปแบบของ Risk Exposure

Risk Analysis ยกตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้วย Risk Exposure Risk Probability [0-1] Loss [1-10] Risk Exposure 1 Personal Shortfalls 0.5 3 1.5 2 Technology Change 0.3 7 2.1 Requirement Change

Risk Analysis ตารางระดับดัชนีชี้วัด Probability และ Loss Probability Rate Very Low 0.1 Low 0.3 Normal 0.5 High 0.7 Very High 1.0

Risk Analysis ตารางระดับดัชนีชี้วัด Probability Loss Rate Very Low 1 3 Normal 5 High 7 Very High 10

Risk Analysis Risk Exposure Risk Probability [0-1] Loss [1-10] Personal Shortfalls 0.5 Normal 3 Low 1.5 2 Technology Change 0.3 7 High 2.1 Requirement Change Very High

Risk Prioritization Risk Exposure Risk Probability [0-1] Loss [1-10] Priority 3 Requirement Change 1 Very High 7 High 2 Technology Change 0.3 Low 2.1 Personal Shortfalls 0.5 Normal 1.5

Risk Control การควบคุมความเสี่ยงนั้นเริ่มจากวางแผน Risk Management Planning และ หาทางแก้ไขปัญหา (Risk Resolution) รวมไปถึงการติดตามความเสี่ยง (Risk Monitoring) โดยการควบคุมความเสี่ยงนั้นถือเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งจะเป็นส่วนที่ทำให้แก้ไขติดตามได้ทันท่วงที โดยจะมีกระบวนการดังนี้

Risk Management การวางแผนบริหารจัดการความเสี่ยงนั้น มีเทคนิควิธีในการนำมาใช้วางแผนหลายวิธีด้วยกันคือ Buying Information Risk Avoidance Risk Transfer Risk Reproduction Risk Element Planning Risk Plan Integration

Risk Resolution การจัดการแก้ไขความเสี่ยงนั้น คือ การนำแผนงานที่ได้กำหนดไว้มาทำตาม ขั้นตอนโดยอาจจะมีการกำหนดขั้นตอนที่นำมาใช้ในการช่วยลดความเสี่ยงได้ เช่น อาจจะมีปัญหาเรื่องของบุคลากรขาดแคลน ก็อาจจะมีการจัดหาบุคลากรเพิ่มเติม หรือ บุคลากรไม่มีความรู้ความสามารถพอในการดำเนินการ ก็อาจจะมีการจัดโปรแกรมการอบรมให้กับบุคลากร หรือ ถ้ามีปัญหาเรื่องความต้องการของผู้ใช้ไม่ตรงกันกับผู้พัฒนา ก็อาจจะต้องสร้างต้นแบบของชิ้นงาน (Prototype) แสดงให้ผู้ใช้ทราบการทำงานเพื่อปรับความเข้าใจให้ตรงกัน เป็นต้น

Risk Monitoring หลังจากทำการจัดการแก้ปัญหาความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นแล้ว กระบวนการต่อไปคือ การตรวจสอบและติดตามความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นอีก หรือ อาจจะเกิดความเสี่ยงที่ไม่คาดคิดในขณะดำเนินการก็ได้ ซึ่งในการตรวจสอบและติดตามจะต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกัน ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ซึ่งจะได้สามารถหาวิธีการป้องกัน และ แนวทางแก้ไขได้ทันท่วงที

Resource Management ในส่วนของทรัพยากรในการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ต้องบริหารนั้นประกอบด้วย 3 ส่วนหลักดังนี้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร

Hardware & Software การบริหารจัดการด้าน ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ คือ การเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ตลอดระยะเวลาการพัฒนาซอฟต์แวร์ รวมไปถึงการจัดทำ Configuration ของฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ตลอดทั้ง Life Cycle

People การบริหารจัดการบุคลากรนั้นจะต้องเตรียมความพร้อมของบุคลากรในโครงการ โดยมีการจัดการด้านการกำหนดคุณสมบัติ หรือ Qualification ของผู้ที่จะเข้ามาทำงานในหน้าที่ต่างๆในโครงการทั้งด้านความรู้เรื่องเทคนิค หรือ รู้ในเรื่องระบบงาน นอกจากนั้นจะต้องจัดเตรียมผ่ายที่เกี่ยวข้องที่มีความสัมพันธ์ในเชิงการประสานงานการงาน กำหนดหน้าที่ให้แก่บุคลากรอย่างชัดเจน และจัดการบริหารให้การทำงานรวมกันทั้งภายในแต่ละทีมย่อยได้

Change Management ประเด็นของการเปลี่ยนแปลงที่ต้องให้ความสนใจ Requirement Change Technology Change Organization Change Other Issuse

Project Closure การปิดโครงการนั้นเปรียบเสมือนการนำข้อบกพร่องในการทำงานที่ผ่านมาของโครงการ มาทำการวิเคราะห์ ซึ่งสิ่งที่ควรนำมาวิเคราะห์เมื่อโครงการเสร็จสิ้นคือ Preparation Process Product Plan Paper Progress Project Management