บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
การคลังและนโยบาย การคลัง
รหัส หลักการตลาด.
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ระบบเศรษฐกิจ.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
Free Trade Area Bilateral Agreement
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
การงบประมาณ (Budget).
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สถาบันเศรษฐกิจ.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ปวสปี 4 รหัส หมวดวิชาชีพพื้นฐาน เรื่องการค้าระหว่างประเทศ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 4 การค้าส่ง.
ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง จ. สุโขทัย

เรื่องระบบเศรษฐกิจ ( Economic Systems) ระบบเศรษฐกิจหมายถึง ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจต่างๆภายใต้ ระเบียบ กฎเกณฑ์ และแนวทางการปฏิบัติของสังคมที่ยึดถือเป็นแนวทาง ในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

รูปแบบของระบบเศรษฐกิจ 1.ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) มีลักษณะสำคัญคือ 1.1 เอกชนเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการผลิต 1.2 เอกชนมีเสรีภาพในการผลิตสินค้าและบริการอย่างเต็มที่ 1.3 มีกำไรเป็นแรงจูงใจในการผลิต

รูปแบบของระบบเศรษฐกิจ (ต่อ) 2.ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) มีลักษณะสำคัญคือ 2.1 กรรมสิทธิ์ทั้งหมดเป็นของรัฐบาล 2.2 รัฐบาลเป็นผู้ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 2.3 มีการจัดสวัสดิการอย่างกว้างขวาง

รูปแบบของระบบเศรษฐกิจ (ต่อ) 3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) มีลักษณะสำคัญคือ 3.1 เอกชนเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการผลิตเป็นส่วนใหญ่ 3.2 รัฐบาลเป็นผู้ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 3.3 รัฐบาลจะดำเนินการผลิตบางอย่าง ที่มีความสำคัญต่อความเป็นอยู่ของประชาชน เช่น สาธารณูปโภค เป็นต้น

แบบทดสอบ คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคำตอบเดียว 1. ระบบเศรษฐกิจแบบใดที่ไม่มีเป้าหมายในการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม ก. ผสม ข.ทุนนิยม ค. สังคมนิยม ง. คอมมิวนิสต์

แบบทดสอบ 2. ระบบเศรษฐกิจแบบใดที่อาศัยกลไกราคามากที่สุด ก. ผสม ข.ทุนนิยม ค. สังคมนิยม ง. คอมมิวนิสต์

แบบทดสอบ 3. ประเทศใดต่อไปนี้ ไม่ได้ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ก. จีน ข.แคนนาดา ค. เยอรมัน ง. สหรัฐอเมริกา

แบบทดสอบ 4. ระบบเศรษฐกิจแบบใดที่ให้เสรีภาพแก่เอกชน เป็นส่วนใหญ่ โดยรัฐบาล จะเข้ามามี บทบาทในการผลิตบางประเภทเท่านั้น ก. ผสม ข.ทุนนิยม ค. สังคมนิยม ง. คอมมิวนิสต์

แบบทดสอบ 5. Market Economy เกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจแบบใด ก. ผสม ข.ทุนนิยม ค. สังคมนิยม ง. คอมมิวนิสต์

เฉลย ข้อ 1 ข. ข้อ 2 ข. ข้อ 3 ก. ข้อ 4 ก. ข้อ 5 ข.