การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
กิจกรรมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงาน (ต่อ)
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เพื่อรับการประเมินภายนอก
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
นำเสนอผลงาน กลุ่มที่ 5 ศพพ. (ศูนย์พักพิง)
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Cooperative Education
ประสบการณ์การจัดสหกิจศึกษา
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ อ.ดร.เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ ผศ.ดร.มาเรียม นะมิ ผศ.วิชยุทธ จันทะรี อ.ศศิกาญจน์ หมอกมีชัย อ.สัชฌุเศรษฐ์ เรืองเดชสุวรรณ อ.สาโรจน์ นราศรี อ.ดร.อนันต์ มาลารัตน์ อ.อภินันท์ ศรีไพวัลย์ 10 วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554

1. ลักษณะงานคุณภาพ ตรงสาขาวิชาชีพ มีขั้นตอนที่ชัดเจน ประเมินผลได้ เกิดประโยชน์ต่อสถานประกอบการ ไม่ยาก-ง่ายเกินไป คำนึงถึงความปลอดภัย

2. เกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดคุณสมบัติของสถานประกอบการ งานตรงกับสาขาวิชาชีพ Profile ตรงตามมาตรฐาน มีโอกาสในการแสดงศักยภาพ/ความสามารถในการปฏิบัติงาน มีโอกาสที่จะได้งานในอนาคต มีการจ่ายค่าตอบแทน มีความเข้าใจต่อการดำเนินงานสหกิจศึกษา ประสานงานได้ง่าย

3.แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการหาสถานประกอบการ - สมาคม TACE /WACE/BOI - หอการค้า/สภาอุตสาหกรรม - สมาคมวิชาชีพ - สมาคมศิษย์เก่า - ผู้นำชุมชนท้องถิ่น - กรมการจัดหางาน/แรงงานจังหวัด -สื่อ เช่น internet เป็นต้น

4. วิธีการในการหางานคุณภาพ 4.1 การหางานโดยคณาจารย์ Personal contact 4.2 การหางานโดยเจ้าหน้าที่ Check Sheet

5. กระบวนการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสหกิจศึกษา ภาค/ปี เนื้อหา ชั้นปีที่ 1 - Introduction to CE. ชั้นปีที่ 2 - พัฒนาทักษะที่จำเป็น ชั้นปีที่ 3 - วัฒนธรรมองค์การ - การบริหารงานคุณภาพ - ทักษะการเขียน Resume - ทักษะการเขียนรายงาน

6. คุณสมบัติของนักศึกษาสหกิจศึกษา ควรกำหนดใน 3 ด้าน ด้านวิชาการ ด้านกิจกรรม ด้านอื่น เช่น สุขภาพ ทัศนคติ

7. ทักษะที่สำคัญของคณาจารย์นิเทศ ภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีม การจูงใจ การสื่อสาร/นำเสนอ/เจรจาต่อรอง การใช้ ICT การแก้ปัญหาและตัดสินใจ การบริหารความขัดแย้ง

8. ข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ในการทำหน้าที่คณาจารย์นิเทศ เอกสารต่าง ๆ เช่น แผนการนิเทศ ข้อมูลโครงงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา Profile ของสถานประกอบการ Profile ของนักศึกษา ตำแหน่งงาน / รายละเอียดงาน

9. การติดตามดูแลและให้คำปรึกษา การรายงานตัว ที่อยู่ขณะปฏิบัติงาน และ Map ปัญหา อุปสรรค โครงงาน

10. ข้อควรปฏิบัติในการนิเทศงานอย่างมีประสิทธิภาพ ศึกษาข้อมูลนักศึกษา มีแผนการนิเทศที่ชัดเจน ประสานงานกับสถานประกอบการ ต้องนิเทศในสถานประกอบการอย่างน้อย 1 ครั้ง และไม่ต่ำกว่า 1 ชั่วโมง คณาจารย์นิเทศต้องพบทั้ง 3 ฝ่าย (ผู้นิเทศ, อาจารย์นิเทศ, นักศึกษา)

11. เกณฑ์การวัดและประเมินผล การประเมินเป็น S หรือ U โดยใช้เกณฑ์ ผลสำเร็จของงาน พฤติกรรมในการทำงาน คุณภาพของรายงาน การนำเสนอผลงาน *หมายเหตุ สัดส่วนการให้คะแนนระหว่างผู้นิเทศและคณาจารย์นิเทศเท่ากับ 50:50

12. รูปแบบกิจกรรมหลังกลับ สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัด Coop open house จัดประกวดและแสดงโครงงานดีเด่น

13. ปัจจัยที่ทำให้สำเร็จ 13.1 มีความเข้าใจตรงกันระหว่าง สถานประกอบการ คณาจารย์ และนักศึกษาสหกิจศึกษา 13.2 มีการเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงานที่ดีเยี่ยม 13.3 มีการประสานงานอย่างต่อเนื่องตามแผนงานที่กำหนด

14. การประเมินประสิทธิภาพคณาจารย์นิเทศ ความรับผิดชอบ โดย : ผู้นิเทศงานและนักศึกษาสหกิจศึกษา ความพึงพอใจของสถานประกอบการ โดย : ผู้นิเทศงาน การให้คำปรึกษานักศึกษาสหกิจศึกษา โดย : นักศึกษาสหกิจศึกษา

15. แนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ปัญหาค่าตอบแทน สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง (ข้อมูลมาตรการภาษี /CSR) ต่อรองเพื่อขอสวัสดิการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ตัวเงินทดแทน เช่น รถรับ-ส่ง อาหาร ชุดฟอร์ม เป็นต้น ปัญหาการมีโอกาสเลือก ของสถานประกอบการและนักศึกษา จัด Coop Open House วางแผนการดำเนินงานสหกิจศึกษาในระยะยาว ปัญหาคณาจารย์นิเทศใช้เวลาในการนิเทศน้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อครั้ง การกำหนดกรอบ/ประเด็นการนิเทศที่