การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ อ.ดร.เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ ผศ.ดร.มาเรียม นะมิ ผศ.วิชยุทธ จันทะรี อ.ศศิกาญจน์ หมอกมีชัย อ.สัชฌุเศรษฐ์ เรืองเดชสุวรรณ อ.สาโรจน์ นราศรี อ.ดร.อนันต์ มาลารัตน์ อ.อภินันท์ ศรีไพวัลย์ 10 วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554
1. ลักษณะงานคุณภาพ ตรงสาขาวิชาชีพ มีขั้นตอนที่ชัดเจน ประเมินผลได้ เกิดประโยชน์ต่อสถานประกอบการ ไม่ยาก-ง่ายเกินไป คำนึงถึงความปลอดภัย
2. เกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดคุณสมบัติของสถานประกอบการ งานตรงกับสาขาวิชาชีพ Profile ตรงตามมาตรฐาน มีโอกาสในการแสดงศักยภาพ/ความสามารถในการปฏิบัติงาน มีโอกาสที่จะได้งานในอนาคต มีการจ่ายค่าตอบแทน มีความเข้าใจต่อการดำเนินงานสหกิจศึกษา ประสานงานได้ง่าย
3.แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการหาสถานประกอบการ - สมาคม TACE /WACE/BOI - หอการค้า/สภาอุตสาหกรรม - สมาคมวิชาชีพ - สมาคมศิษย์เก่า - ผู้นำชุมชนท้องถิ่น - กรมการจัดหางาน/แรงงานจังหวัด -สื่อ เช่น internet เป็นต้น
4. วิธีการในการหางานคุณภาพ 4.1 การหางานโดยคณาจารย์ Personal contact 4.2 การหางานโดยเจ้าหน้าที่ Check Sheet
5. กระบวนการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสหกิจศึกษา ภาค/ปี เนื้อหา ชั้นปีที่ 1 - Introduction to CE. ชั้นปีที่ 2 - พัฒนาทักษะที่จำเป็น ชั้นปีที่ 3 - วัฒนธรรมองค์การ - การบริหารงานคุณภาพ - ทักษะการเขียน Resume - ทักษะการเขียนรายงาน
6. คุณสมบัติของนักศึกษาสหกิจศึกษา ควรกำหนดใน 3 ด้าน ด้านวิชาการ ด้านกิจกรรม ด้านอื่น เช่น สุขภาพ ทัศนคติ
7. ทักษะที่สำคัญของคณาจารย์นิเทศ ภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีม การจูงใจ การสื่อสาร/นำเสนอ/เจรจาต่อรอง การใช้ ICT การแก้ปัญหาและตัดสินใจ การบริหารความขัดแย้ง
8. ข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ในการทำหน้าที่คณาจารย์นิเทศ เอกสารต่าง ๆ เช่น แผนการนิเทศ ข้อมูลโครงงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา Profile ของสถานประกอบการ Profile ของนักศึกษา ตำแหน่งงาน / รายละเอียดงาน
9. การติดตามดูแลและให้คำปรึกษา การรายงานตัว ที่อยู่ขณะปฏิบัติงาน และ Map ปัญหา อุปสรรค โครงงาน
10. ข้อควรปฏิบัติในการนิเทศงานอย่างมีประสิทธิภาพ ศึกษาข้อมูลนักศึกษา มีแผนการนิเทศที่ชัดเจน ประสานงานกับสถานประกอบการ ต้องนิเทศในสถานประกอบการอย่างน้อย 1 ครั้ง และไม่ต่ำกว่า 1 ชั่วโมง คณาจารย์นิเทศต้องพบทั้ง 3 ฝ่าย (ผู้นิเทศ, อาจารย์นิเทศ, นักศึกษา)
11. เกณฑ์การวัดและประเมินผล การประเมินเป็น S หรือ U โดยใช้เกณฑ์ ผลสำเร็จของงาน พฤติกรรมในการทำงาน คุณภาพของรายงาน การนำเสนอผลงาน *หมายเหตุ สัดส่วนการให้คะแนนระหว่างผู้นิเทศและคณาจารย์นิเทศเท่ากับ 50:50
12. รูปแบบกิจกรรมหลังกลับ สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัด Coop open house จัดประกวดและแสดงโครงงานดีเด่น
13. ปัจจัยที่ทำให้สำเร็จ 13.1 มีความเข้าใจตรงกันระหว่าง สถานประกอบการ คณาจารย์ และนักศึกษาสหกิจศึกษา 13.2 มีการเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงานที่ดีเยี่ยม 13.3 มีการประสานงานอย่างต่อเนื่องตามแผนงานที่กำหนด
14. การประเมินประสิทธิภาพคณาจารย์นิเทศ ความรับผิดชอบ โดย : ผู้นิเทศงานและนักศึกษาสหกิจศึกษา ความพึงพอใจของสถานประกอบการ โดย : ผู้นิเทศงาน การให้คำปรึกษานักศึกษาสหกิจศึกษา โดย : นักศึกษาสหกิจศึกษา
15. แนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ปัญหาค่าตอบแทน สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง (ข้อมูลมาตรการภาษี /CSR) ต่อรองเพื่อขอสวัสดิการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ตัวเงินทดแทน เช่น รถรับ-ส่ง อาหาร ชุดฟอร์ม เป็นต้น ปัญหาการมีโอกาสเลือก ของสถานประกอบการและนักศึกษา จัด Coop Open House วางแผนการดำเนินงานสหกิจศึกษาในระยะยาว ปัญหาคณาจารย์นิเทศใช้เวลาในการนิเทศน้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อครั้ง การกำหนดกรอบ/ประเด็นการนิเทศที่