งานถอดประกอบสายพานไทมิ่งและเพลาลูกเบี้ยวของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถถอดประกอบสายพานไทมิ่งและเพลาลูกเบี้ยวของเครื่องยนต์แก๊สโซลีนได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เครื่องมือประจำตัวช่างยนต์ได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เครื่องมือพิเศษได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี 4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ได้อย่างถูกต้อง
เครื่องมือและอุปกรณ์ ชุดบล็อก ตัวดูดมู๋เล่ ไขควง
ลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการถอด 1. เตรียมเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ให้ครบ 2. ถอดฝาครอบสายพานไทมิ่ง โดยการนำไขควงมาคายสกรู 3 ตัว
3. ถอดมู๋เล่ย์ 3. 1 หมุนเครื่องตั้งสูบ 1 อัดสุด 3 3. ถอดมู๋เล่ย์ 3.1 หมุนเครื่องตั้งสูบ 1 อัดสุด 3.2 คายสกรูตัวยึดมู๋เล่ย์ด้วยล็อกเบอร์ 23 ออก 3.3 นำถอดมู่เล่ย์โดยใช้เครื่องมือพิเศษถอดออก
4. ถอดฝาครอบสายพาน 4.1คลายสกรู 1 ตัว
5. ถอดตัวดันสายพานไทมิ่ง และถอดสายพาน 5.1 นำบล็อกเบอร์ 12 มาคลายโบทล์ 5.2 ถอดสายพาน
6. ถอดฝาครอบวาวล์ 6.1 นำบล็อกเบอร์ 10 มาคลายโบทล์ ตรงฝาครอบเป็นลักษณะวงกลมออกนอก
7. ถอดเพลาลูกเบี้ยว 7.1 ประแจเบอร์ 12 คลาย น็อตที่ประกับล็อคเพลาลูกเบี้ยว ทุกตัว
ขั้นตอนการประกอบ .ใส่เพลาลูกเบี้ยวและล็อกประกับล็อกเพลาะลูกเบี้ยว ด้วยน็อตเบอร์ 12
2. ปิดฝาครอบวาวล์ แล้ว เช็คมาร์กเพลาลูกเบี้ยว 2 2. ปิดฝาครอบวาวล์ แล้ว เช็คมาร์กเพลาลูกเบี้ยว 2.1 นำบล็อกเบอร์ 10 มาขันฝาครอบวาล์วให้แน่น
3. เช็คมาร์กทุกจุดก่อนใส่สายพาน
4. ใส่สายพานและตัวตั้งสายพาน 4.1 ใส่สายพาน และตัวดันสายพาน 4.2นำสปริงมาจับกับปากกาแล้วนำลวดมาสอดตรงรูเพื่อดันสปริง
5. ใส่ฝาครอบสายพาน 5.1 ขันสกรู 1 ตัว
6. ใส่มู๋เล่ย์ 6.1 สวมมู่เล่ย์ให้เข้าล็อกและตรงมาร์ก จากนั้นให้ขันสกรู เบอร์ 23 อัดให้แน่น
7. หมุนเครื่องตรวจสอบมาร์ก และ ประกอบฝาครอบสายพาน 7.1 ขันสกรู 3 ตัว
ผู้จัดทำ นาย วสันต์ อินทรายุธ ยานยนต์ 3/1 เลขที่ 7 นาย ฐนิตร์ สุ่มประดิษฐ์ ยานยนต์ 3/1 เลขที่ 8 นาย ธวัชชัย ชมลิ่น ยานยนต์3/1 เลขที่ 12