การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
คำกริยา.
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
ชื่อ-นามสกุล นางนันทา กิจแสวง ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
คำวิเศษณ์.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
บทนำ บทที่ 1.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภทคือ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
การใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
การเขียน.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
การเขียนรายงาน.
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
บทบาทสมมติ (Role Playing)
การอ่านเชิงวิเคราะห์
องค์ประกอบของวรรณคดี
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
องค์ประกอบของบทละคร.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ทักษะการปฏิเสธ หลักการปฏิเสธ  ๑) ควรปฏิเสธด้วยคำพูด น้ำเสียง ท่าทางที่จริงจังแต่มีความสุภาพ เพื่อแสดงความตั้งใจอย่างชัดเจนในการปฏิเสธ 
การพูด.
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนบ้านขจัดภัย เข้าสู่บทเรียน.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง ประโยค.
สื่อประกอบการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
การเขียนโครงการ.
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ทักษะการปฏิเสธทางเพศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู

หลักการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใช้ภาษาที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ และสร้างความประทับใจแก่ผู้สื่อสารปัจจัยสำคัญอย่างยิ่ง คือ การใช้ภาษาที่เหมาะสมกับการสื่อสาร ดังนั้น ผู้สื่อสารควรศึกษาและพัฒนาทักษะการใช้ภาษา โดยเฉาะอย่างยิ่งในเรื่องประเภทของภาษาความหมายคำและประเภทของประโยค

ภาษา ภาษา หมายถึง วิธีที่มนุษย์ใช้แสดงความรู้สึกและสื่อความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจ ภาษาจำแนกตมวิธีการแสดงออกได้ 2 ประเภทคือ ๑. วัจนภาษา คือ ภาษาที่ใช้ถ้อยคำ เสียงพูดหรือเครื่องหมายแทนที่มนุษย์ตกลงใช้กันในสังคม ๒. อวัจนฤภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช้คำพูดเป็นถ้อยคำ หรือเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร แต่เป็นสิ่งที่สามารถสื่อให้เกิดความหมาย ความรู้สึกนึกคิดความเข้าใจตรงกัน เช่น ภาษาท่าทาง ภาษาใบ้ ภาษากาย มี ๗ ประเภค คือ ๒.๑เทศภาษา อวัจนภาษาที่รับรู้ได้จากระยะห่างระหว่างบุคคลและสถานที่ที่ใช้ในการสื่อสารกัน

๒. ๒ กาลภาษา อวัจนภาษาที่รับรู้จากช่วงเวลาในการสื่อสาร ๒ ๒.๒ กาลภาษา อวัจนภาษาที่รับรู้จากช่วงเวลาในการสื่อสาร ๒.๓เนตรภาษา อวัจนภาษาที่รับรู้ได้จากสาย เพื่อแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ๒.๔ สัมผัสภาษา อวัจนภาษาที่รับรู้จากการสัมผัส ๒.๕ อาการภาษา อวัจนภาษาที่รับรู้จากการเคลื่อนไหวของร่างกาย ๒.๖ วัตถุภาษา อวัจนภาษาที่รับรู้จากการเลือกใช้วัตฟถุเพื่อสื่อความหมาย ๒.๗ ปริภาษา ที่รับรู้ได้จากการใช้น้ำเสียงแสดงออกพร้อมกับถ้อยคำนั้น ทำให้สามารถเข้าใจความหมายของถ้อยคำได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ช่วยเน้นให้เห็นถึงเจตนา หรือลักษณะของผู้ส่งสารว่าพอใจ หรือโกรธ ฯลฯ

การสื่อสารแต่ละครั้งย่อมใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษาควบคู่กันไปซึ่งอวัจนภาษาที่ใช้สัมพันธ์กับวัจนภาษาใน ๕ ลักษณะด้วยกันคือ ๑. ตรงกัน อวัจนภาษามีความหมายตรงกับถ้อยคำ ๒. แย้งกัน อวัจนภาษาที่ใช้ขัดแย้งกับถ้อยคำ ๓. แทนกัน อวัจนภาษาทำหน้าที่แทนวัจนภาษา ๔. เสริมกัน อวัจนภาษาที่ช่วยเพิ่มหรือเสริมน้ำหนักของถ้อยคำ ๕. เน้นกัน อวัจนภาษาช่วยเน้นหรือเพิ่มน้ำหนักให้ถ้อยคำ ก

การใช้ภาษาให้ได้ผลดีจึงควรเริ่มต้นด้วยการศึกษาเรื่องคำ เพราะเป็นหน่วยสำคัญขั้นมูลฐานทางไวยกรณ์ - พยางค์ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาประกอบด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์โดยจะมีความหมายหรือไม่ก็ได้ -คำ หมายถึง เสียงที่มีความหมาย (พยางค์+ความหมาย) ในภาษาไทย คำๆเดียวจะมีกี่พยางค์ก็ได้

การศึกษาเรื่องคำนั้นควรมีความรู้พื้นฐานเรื่อง ความหมายของคำ ให้ชัดเจนเพื่อให้เข้าใจและสามารถนำไปใช้อย่างถูกต้องจะกล่าวถึงเรื่องความหมายของคำพอเป็นพื้นฐาน ดังนี้ ๑. ความหมายเฉพาะของคำ ๑.๑ ความหมายโดยตรง เช่น - เด็กๆไม่ชอบแม่มดในนิทานเลย ๑.๒ ความหมายโดยนัย เช่น -วันนี้ยายแม่มดไม่มาทำงานหรือ

๑. ๓ ความหมายแฝง เช่น - ร่วง ตก หล่น ๑ ๑.๓ ความหมายแฝง เช่น - ร่วง ตก หล่น ๑.๔ ความหมายตามบริบท เช่น - ไฟบางดวง ติด บางดวงดับ ๑.๕ความหมายนัยประหวัด -ปัง/สีขาว/สีดำ/กา/หงส์/น้ำ/ไฟ ๒. ความหมายของคำเมื่อเทียบเคียงกับคำอื่น

๒.๑ คำที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น สุนัข – หมา คำที่มีความหมายเหมือนกันบางคำก็ใช้แทนกันไม่ได้ เนื่องจาก เป็นคำสุภาพ - ไม่สุภาพ/ระดับภาษา/รูปแบบหรือท่วงทำนองการเขียน ฯลฯ ๒.๒ คำที่มีความหมายตรงกันข้าง เช่น สะอาด - สกปรก ๒.๓ คำที่มีความหมายร่วมกัน เช่น ส่งเสริม - สนับสนุน

๒.๔ คำที่มีความหมายแคบ – กว้างต่างกัน เช่น - เครื่องครัว กระ จาน ชาน เขียง ฯลฯ ประโยค ประโยค คือ ถ้อยคำที่มีเนื้อหาสมบูรณ์ ประโยคโดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนสำคัญ ๒ ส่วน คือ ภาคประธาน และภาคแสดง - ภาคประธาน คือ ส่วนที่เป็นผู้กระทำกริยาอาการ - ภาคแสดง คือ ส่วนที่แสดงกริยาหรือส่วนที่แสดงอาการของภาคประธานให้ได้ความสมบูรณ์ อาจประกอบด้วยกริยาคำเดียว หรือกริยาและกรรม

การจำแนกประโยคในภาษาไทย - ประโยคในภาษาไทยแบ่งได้เป็น ๓ ลักษณะ คือ ประโยคความเดียว - ประโยคความรวม และ ประโยคความซ้อน ๑. ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเดียว ประกอบด้วยภาค ประธานและภาคแสดง เช่น - เขาร้องร้อง

๒. ประโยคความรวม คือ ประโยคที่รวมเอาประโยคความเดียว ๒ ประโยคขึ้นไปไว้ด้วยกันโดยมีสันธานเชื่อมประโยค ประโยคที่รวมกันนั้นอาจมีเนื้อความ คล้อยตามกัน (และ แล้ว…จึง เมื่อ…จึง พอ…ก็ ทั้ง…และ) ๓. ประโยคความซ้อน คือ ประโยคที่มีประโยคย่อยเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยค หลัก เช่น -ฉันเห็นคนถูกรถชนกลางถนน - ฉัน…ประธาน+กริยา…

จบการสรุปบทที่๑