โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความต้องการกำลังคนสาขาระบบสมองกลฝังตัว
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
Flag Ship 101,976,000 บาท 4 โครงการ เทียบเท่า ผลผลิตนอกเหนือจาก ผลผลิต ปวช./ ปวส./ ระยะ สั้น วิจัยองค์ความรู้ / วิจัยเพื่อ ถ่ายทอดเทคโนโลยี  Proj ความร่วมมือเพื่อ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจเพื่อการศึกษา
ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจเพื่อการศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550 เอกสารของ สอศ. 8 มีนาคม 2550 โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์

ปัญหาการดำเนินการ งบประมาณล่าช้า เกิดความไม่แน่ใจในการดำเนินการ (ปี 50 มีนาคม) การกำหนดคุณสมบัติของกลุ่มเป้าหมายไม่ชัดเจน กำหนดกิจกรรมมากเกินไป ทำให้ดำเนินการไม่ตรงเป้าหมาย การสื่อสารทำความเข้าใจถึงเป้าหมายโครงการจาก สอศ. ถึงระดับผู้ปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติไม่ได้รับคู่มือการปฏิบัติการโครงการ การกำหนด/หา กลุ่มเป้าหมาย วิธีดำเนินการ ให้ได้ตามเป้าหมาย การใช้งบประมาณ มีการใช้ผลผลิตของงบประมาณปกติ หรือระยะสั้น มาเป็นผลผลิตของ Flag Ship การเก็บ และสรุปผลข้อมูล ขาดเครื่องมือ

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ ข้อเสนอแนะ ควรมีคณะกรรมการพิจารณาโครงการให้ตรงตามเป้าหมาย ผู้รับนโยบายควรเผยแพร่เอกสาร และข้อมูลให้ถึงผู้ปฏิบัติ กำหนดกรอบกิจกรรมให้เป็นไปตามบริบทของสถานศึกษา และกลุ่มเป้าหมาย การหากลุ่มเป้าหมายควรใช้เครือข่าย ชุมชน องกรค์กรส่วนท้องถิ่นมากกว่าไปสำรวจด้วยตนเอง จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน ควรดำเนินการด้วยการบริหารจัดการของ อศจ. และเชื่อมโยงกับจังหวัด เพื่อไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อนของกลุ่มเป้าหมาย แยกกลุ่มเป้าหมายจากผลผลิตปกติและระยะสั้นให้ชัดเจน ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ

1. โครงการอาชีวะเพื่อแก้ปัญหาความยากจน (F1) สถานศึกษาละ 81,000 บาท อศจ.ละ 40,000 บาท 1.1 ร่วมกับสถานประกอบการ จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการหาความต้องการ ฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพตามความต้องการ เป้าหมายผู้รับบริการสามารถสร้างงานสร้างอาชีพ สถานศึกษาละไม่ต่ำกว่า 150 คน อศจ. งบประมาณ 40,000 บาท สู่เป้าหมายจังหวัดอยู่ดีมีสุข และเชื่อมโยงกับกลุ่มอาชีพ อย่างน้อยจังหวัดละ 10 อาชีพหลัก งบบริหารจัดการรวมถึงการรวบรวมข้อมูล

ชื่อกิจกรรมที่สถานศึกษาดำเนินการ กลุ่มอาชีพ สถานที่ จำนวนสมาชิก ชื่อกิจกรรมที่สถานศึกษาดำเนินการ 1 2 10 รวม หน้า 1

(วัน เดือน ปี ที่จัด กิจกรรมที่จัด จำนวนผู้เข้าร่วม) 1.2 จัดฝึกอบรม 108 อาชีพ ภายใต้กิจกรรมถนนอาชีพ อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน โดยบูรณาการเข้ากับจังหวัด มีกำหนดการจัดและกิจกรรม (วัน เดือน ปี ที่จัด กิจกรรมที่จัด จำนวนผู้เข้าร่วม) ประชาชนได้รับฝึกอาชีพไม่น้อยกว่า 50,000 คนทั่วประเทศ จังหวัดละประมาณ 650 คน (นำเสนอปัญหา ข้อเสนอแนะ วิธีการที่ทำให้ได้ผลดี)

ที่ วัน เดือน ปี กิจกรรม จำนวนคน รวม หน้า 2

วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ ...................................................................................................................... ................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................... วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี ....................................................................................................................................................................................................................... หน้า 2

2. ความร่วมมือเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา (F2) สถานศึกษาละ 14,000/18,000 บาท(2,000 คน) บูรณาการการทำงานร่วมกันกับสถานประกอบการ สภาอุตสาหกรรมจังหวัด สภาหอการค้าจังหวัด เป้าหมายสถานประกอบการเพิ่มขึ้น/ความร่วมมือมีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 5 แห่ง จำนวนนักเรียนนักศึกษา คนงานในสถานประกอบการเพิ่มขึ้นสถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 10 คน อศจ. งบประมาณ 80,000 บาท สำรวจข้อมูลความต้องการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่าย เชิดชูเกียรติฯ ศูนย์กำลังคนอาชีวะ เผยแพร่และติดตามผล

สาขาวิชา/หลักสูตรที่พัฒนา จำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็น ชื่อ – ที่อยู่ สถานประกอบการ สาขาวิชา/หลักสูตรที่พัฒนา จำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็น หมายเหตุ/มีการเทียบโอนวุฒิ นักศึกษา คนงานในสถานประกอบการ 1 หน้า 3

วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ ...................................................................................................................... ................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................... วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี ....................................................................................................................................................................................................................... หน้า 4

3. จัดการองค์ความรู้ในการสร้างผู้ประกอบการ (F3) งปม.สถานศึกษาละ 84,600 บาท สนับสนุนการเป็นผู้ประกอบการ การนำเทคโนโลยีด้านต่างๆ ไปปรับใช้เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิตต่อยอดสินค้าและบริการ ให้แก่นักเรียน นักศึกษา ประชาชน สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 15 คน มีการประสานเครือข่าย เชื่อมโยงความร่วมมือและบูรณาการภารกิจร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งอนุรักษ์พัฒนา และใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น อศจ. งบประมาณ 30,000 บาท สำรวจและจัดทำ Profile ศึกษาความต้องการ สร้างเครือข่ายหลากหลาย SME ศิษย์เก่า บริหารเชื่อมโยง เผยแพร่และติดตามผล

ผลิตภัณฑ์/สินค้า/บริการ และสถานที่ องค์ความรู้/กิจกรรม จำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็น เครือข่าย/ภูมิปัญญาท้องถิ่น นักศึกษา ประชาชน 1 2 หน้า 5

วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ ...................................................................................................................... ................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................... วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี ....................................................................................................................................................................................................................... หน้า 6

4. โครงการจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ (F4) งบประมาณสถานศึกษาละ 13,000 บาท พัฒนาองค์ความรู้ ทักษะการเป็นผู้ประกอบการให้แก่นักศึกษา ประชาชน พัฒนาศูนย์บ่มเพาะ สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 10 คน จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา เพื่อสร้างทักษะ ประสบการณ์ในการเป็นผู้ประกอบการ สถานศึกษาละอย่างน้อย 1 กลุ่มธุรกิจ

ผลิตภัณฑ์/สินค้า/บริการ และสถานที่ กิจกรรมที่ดำเนินการ จำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็น เครือข่าย/วิสาหกิจ ที่ร่วมมือ นักศึกษา ประชาชน 1 2 หน้า 7

วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ ...................................................................................................................... ................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................... วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี ....................................................................................................................................................................................................................... หน้า 8

ขอบคุณและสวัสดี เป้าหมายแม่นมั่น วิธีการหลากหลาย รวมใจพัฒนา ศึกษากลุ่มเป้าหมายก่อนดำเนินการ วัดผลทุกครั้งเพื่อปรับปรุง มุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นหลัก ขอบคุณและสวัสดี