การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network management system)
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นำเสนอ เรื่อง x.25.
การตรวจสอบ CRC บน ROUTER
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
UNDERSTANDING NETWORK BASIC ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานเครือข่าย
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
Introduction to System Administration
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
SMTP.
ARP (Address Resolution Protocol)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
คุณสมบัติของซอฟท์แวร์ SCADA
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
จัดทำโดย จัดทำโดย นางสาวชุติมา ก้องศิริวงศ์ รหัส นางสาวฏรินทร คงมณี รหัส
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
Client Security: A Framework For Protection June 19, 2006 Natalie Lambert and teams, Forrester Research, Inc., 400 Technology Square Cambridge, MA
What’s P2P.
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
การบริหาร และการจัดการเพื่อลดความเสี่ยง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
CSC431 Computer Network System
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
KM Presentation NETWORK.
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
-เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมาตรการความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
บทที่ 2 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) อ.พรขัย พันธุ์วิเศษ.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
ภัยจากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรของหน่วยงาน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การใช้ Green ICT ในองค์กร แบบพอเพียง
Network Security.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
Cloud Computing Security
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย วันที่ การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 นายเกษม วงค์แสน เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต 30 พฤษภาคม.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management) บทที่ 7 การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management)

การบริหารจัดการระบบเครือข่าย การบริหารจัดการเน็ตเวิร์กจัดเป็นสิ่งสำคัญยิ่งสำหรับองค์กรที่มีการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นแบบเครือข่าย แต่มันมักจะถูกสนใจเป็นอันดับท้าย ๆ หรือจนหว่าจะมีปัญหาเกิดขึ้นในระบบ เน็ตเวิร์กแต่จริง ๆ แล้ว การบริหารจัดการเน็ตเวิร์กมีความสำคัญและจำเป็นตั้งแต่เริ่มออกแบบระบบเน็ตเวิร์ก จนถึงขั้นตอนการติดตั้งใช้งานและมีการขยายเน็ตเวิร์ก

7.1 SNMP The Simple Network Management Protocol (SNMP) เป็นโปรโตคอลที่ทำให้ผู้ดูแล เน็ตเวิร์ก (Network Manager) สามารถตรวจสอบการทำงานของเน็ตเวิร์กได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถใช้งานกับเครื่องมือบริหารจัดการเครือข่ายของหลายค่าย ดังแสดงในตาราง ที่ 7.1

7.1 SNMP ตาราง ที่ 7.1ตัวอย่างอุปกรณ์การบริหารจัดการเครือข่ายที่ใช้ SNMP

การทำงาน SNMP SNMP มีฟังก์ชันการทำงานที่สำคัญ 2 ฟังก์ชันคือ Network Management Station (NMS) และ Network Agents NMS จะคอยตรวจสอบ อุปกรณ์เน็ตเวิร์ก ที่สื่อสารอยู่บน SNMP ซึ่งอุปกรณ์เหล่านั้น agent software ทำงานอยู่เพื่อคอยติดต่อกับ NMS ซึ่งอุปกรณ์เน็ตเวิร์กที่เป็น Network Agent ได้แก่ routers, repeaters, hubs, bridger, PC ที่มี

การทำงาน SNMP NIC ประกอบอยู่ print server, communications servers และ UPSs ผู้ดูและเน็ตเวิร์กสามารรถตรวจสอบและควบคุมอุปกรณ์เน็ตเวิร์กผ่านทาง NMS สามารถที่จะตรวจจับได้ว่ามี agent ใด agent หนึ่งเกิด down โดย agent นั้นอาจจะมีการแสดงเป็นสีแดงหรือมีสัญญาณเตือน ซึ่ง NMS ซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็น GUI

7.2 ความปลอดภัยของเน็ตเวิร์ก (Network Security) ความปลอดภัยของระบบเน็ตเวิร์กเข้ามามีส่วนสำคัญในการบริหารจัดการเน็ตเวิร์กเนื่องจากระบบเน็ตเวิร์กได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานหลัก (Business Cove) ขององค์กร การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยของเน็ตเวิร์ก มีหน้าที่รวมไปถึง การลดระยะเวลาของการ down ของเน็ตเวิร์กให้น้อยที่สุด (Minimizing Downtime)

7.2 ความปลอดภัยของเน็ตเวิร์ก (Network Security) การลดการสูญหายของข้อมูลทั้งจาก ภัยธรรมชาติและฝีมือมนุษย์ซึ่งในการจัดการเรื่องความปลอดภัยของเน็ตเวิร์ก ผู้บริหารจัดการเน็ตเวิร์กจะต้องมีการปฏิบัติในสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้

7.2 ความปลอดภัยของเน็ตเวิร์ก (Network Security) 1. พาสเวิร์ด และการปรับปรุงพาสเวิร์ด (Password and Password Maintenance) 2. การจัดการสิทธิในการเข้าระบบ (Access privilege Management) 3. การเข้ารหัส (Encryption) 4. การป้องกันทางด้านระบบไฟฟ้า (Power Protection)

7.2 ความปลอดภัยของเน็ตเวิร์ก (Network Security) 5. การแบกอัพระบบ และข้อมูล (System and Data Backups) 6. ไฟล์วอล (Firewalls) 7. การตรวจสอบไวรัน (Virus Monitoring) 8. การป้องกันความเสียหายจากภัยธรรมชาติ (Diaster Recovery)