พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ฉบับที่ 3 พ.ศ.2552 พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ฉบับที่ 3 พ.ศ.2552 ประกอบอาชีพ (1) – (9) มีหน้าที่ต้องรายงานการทำธุรกรรมต่อสำนักงานการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ในกรณีเป็นธุรกรรมที่ใช้ เงินสด เกินกว่าที่กำหนด หรือเป็นธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย มาตรา 16 “(1) ผู้ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการดำเนินการ การให้คำแนะนำ หรือการเป็นที่ปรึกษาในการทำธุรกรรมที่เกี่ยวกับการลงทุนหรือการเคลื่อนย้ายเงินทุนตามกฏหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ไม่ใช่สถาบันการเงินตามมาตรา 13 ” ให้สถาบันการเงินและผู้ประกอบอาชีพตามมาตรา 16 จัดให้ลูกค้าแสดงตนทุกครั้ง (KYC)ก่อนการทำธุรกรรม เว้นแต่ได้แสดงตนไว้ก่อนแล้ว มาตรา 20
พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ฉบับที่ 3 พ.ศ.2552 พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ฉบับที่ 3 พ.ศ.2552 มาตรา 20 / 1 ต้องกำหนดนโยบายรับลูกค้า การบริหารความเสี่ยง ต้องตรวจสอบข้อเท็จจริง ต้องเก็บรักษารายละเอียดเกี่ยวกับการตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริงของลูกค้าเป็นระยเวลา ห้าปี นับแต่วันที่ปิดบัญชีหรือยุติความสัมพันธ์กับลูกค้า มาตรา 22/1 ฝ่าฝืนต้องโทษปรับไม่เกิน 500,000 บาท และปรับอีกวันละไม่เกิน 5,000 บาท ตลอดเวลาที่ฝ่าฝืนหรือจนกว่าปฏิบัติให้ถูกต้อง มาตรา 62 2 2
ร่างกฎกระทรวง (1) เงินสดตั้งแต่ 1.0 ล้านบาทหรือกว่านั้นขึ้นไป (1) เงินสดตั้งแต่ 1.0 ล้านบาทหรือกว่านั้นขึ้นไป (2) การรายงานให้ใช้แบบ ปปง. 1-05-1 และ ปปง.1-05-2 ระหว่างวันที่ 1 ถึงสิ้นเดือน ไปยัง ปปง.ภายใน 7 วันนับตั้งแต่วันถัดจากวันสิ้น เดือนที่มีธุรกรรมนั้น เหตุอันสงสัยรายงานภายใน 7 วัน นับแต่วันที่มีเหตุอันสงสัย การส่งเป็นการ ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ต้องแสดงตน (KYC) และตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้า (CDD) ต้องมีข้อมูลและหลักฐานตามประกาศของ ปปง.