โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ พอเพียง.
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
พิธีปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเนื่องในวันประมงแห่งชาติ และโครงการมหกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ในพื้นที่เขื่อนแควน้อย บำรุงแดน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
นางสาว จริยา อุทุมพร รหัสนักศึกษา
การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาสามชั้น
การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
บรรยายสรุป ภาพรวมจังหวัด อ่างทอง โดยประมงจังหวัดอ่างทอง.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
1. นางสาววิลาสินี หงษ์ทอง
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
การเพิ่มชุดโครโมโซม Polyploidy.
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
กิจกรรมประมงโรงเรียน
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
จัดทำโดย นาย วัฒนพงษ์ เมฆสว่าง ม.5/3 เลขที่ 27 นาย เชิดพงษ์ พิมพ์มีลาย ม.5/3 เลขที่ 30.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายธำรงศิลป โพธิสูง ผลงานวิจัย การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างพันธุ์แท้โดยวิธีจดประวัติประยุกต์ (Modified Pedigree Selection) เพื่อใช้เป็นพันธุ์ส่งเสริมและเป็นแหล่งพันธุกรรม สำหรับปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่าง เป็นโครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จนถึงปัจจุบัน โดยมีสายพันธุ์แท้ส่งเสริมให้แก่เกษตรกร 5 พันธุ์ และข้าวฟ่างลูกผสม 5 พันธุ์ คือ - พันธุ์ เคยู 439 และเคยู 408 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2526 - พันธุ์ เคยู 8501 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2529 - พันธุ์ เคยู 526 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2528 - พันธุ์ เคยู 8702 และ เคยู 8703 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2531 - พันธุ์ เคยู 630 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2530 - พันธุ์ เคยู 9501 และ เคยู 9502 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2538 - พันธุ์ เคยู 804 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2532 - พันธุ์ เคยู 900 และ เคยู 901 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2541 การปรับปรุงประชากรข้าวฟ่างโดยวิธี S1 selection และ S2 selection : ผู้ร่วมโครงการเป็นโครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522-2528 โดยใช้สายพันธุ์เพศผู้เป็นหมันแบบ genetic male sterile ในปี พ.ศ. 2528 ได้มีประชากรข้าวฟ่างจำนวน 8 ประชากร เพื่อใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่าง คือ KU. Population 1-8 การทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างลูกผสมของประเทศไทย : ผู้ร่วมโครงการในปี พ.ศ. 2522-2525 และเป็นหัวหน้าโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึงปัจจุบัน ทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างลูกผสมของบริษัทเอกชนและของทางราชการที่จำหน่ายในประเทศไทย ซึ่งมีข้าวฟ่างลูกผสมพันธุ์ใหม่ออกสู่ตลาดทุกปี จึงทำการทดสอบต่อเนื่องเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับแนะนำเกษตรกร การทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างลูกผสมสามทาง (Three way cross hybrid) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2525-2526 : ผู้ร่วมโครงการ

การทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างจากต่างประเทศ (exotic sorghum) ร่วมกับ ICRISAT ประเทศอินเดีย โดยทำการทดสอบดังนี้ ปี พ.ศ. 2522 ทดสอบพันธุ์ชุด ISPYT 1 และ ISPYT 2 ปี พ.ศ. 2523-2524 ทดสอบพันธุ์ SEPON 80 และ SEPON 81 ปี พ.ศ. 2532-2536 ทดสอบพันธุ์ (ISHVAT-MED 89-92) การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างต้านทานต่อหนอนแมลงวันเจาะยอดข้าวฟ่าง (Shootfly Resistance) : หัวหน้าโครงการ ทำการวิจัยในปี พ.ศ. 2523-2524 และทำการวิจัยต่อในปี พ.ศ. 2530 ถึงปัจจุบัน การพัฒนาข้าวฟ่างลูกผสมเพื่อใช้เป็นพันธุ์ปลูกในประเทศไทย : ผู้ร่วมโครงการ โครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 จนถึงปัจจุบัน โดยมีข้าวฟ่างลูกผสมส่งเสริมให้แก่เกษตรกร 5 พันธุ์ คือ พันธุ์ เคยู 8501 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2528 พันธุ์ เคยู 8702 และ 8703 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2530 พันธุ์ เคยู 9501 และ 9502 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2539 การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างอาหารสัตว์ (Forage Sorghum) โดยวิธีการจดประวัติ (Pedigree Selection) : ผู้ร่วมโครงการ โครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. 2536 ได้แนะนำพันธุ์ข้าวฟ่างอาหารสัตว์สู่เกษตรกร 2 สายพันธุ์ คือ พันธุ์กลางดง 1 และกลางดง 2การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างหวาน (Sweet Sorghum) : ผู้ร่วมโครงการ โครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-2532 ได้รวบรวมและพัฒนาพันธุ์ข้าวฟ่างหวานไว้ใช้ประโยชน์ในอนาคต จำนวน 10 สายพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างทนทานต่ออลูมินัม (Aluminum Toxicity Tolerance) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2526-2528 : ผู้ร่วมโครงการ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างสายพันธุ์เพศผู้เป็นหมันที่ไซโตปลาสซึมแบบ A-1 และ A-2 โดยวิธีการผสมกลับ : ผู้ร่วมโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526-2535 และเป็นหัวหน้าโครงการตั้งแต่ปี 2536 ถึงปัจจุบัน โครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 จนถึงปัจจุบัน ได้สายพันธุ์เพศผู้เป็นหมันที่ใช้ เป็นสายพันธ์แม่ในการผลิตข้าวฟ่างลูกผสม จำนวน 10 สายพันธุ์ การศึกษาสมรรถนะการผสมพันธุ์ของข้าวฟ่าง 8 สายพันธุ์ โดยวิธีการผสมพันธุ์แบบพบกันหมด (Diallele Cross) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2527-2528 : หัวหน้าโครงการ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างให้มีคุณค่าทางอาหารในเมล็ดสูง ดำเนินการในปี พ.ศ. 2532-2534 : ผู้ร่วมโครงการ

การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างต้านทานต่อโรคราบนช่อข้าวฟ่าง (head mold) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2532-2534 : ผู้ร่วมโครงการ การทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างไม้กวาด ดำเนินการในปี พ.ศ. 2531 : หัวหน้าโครงการ การคัดเลือกพันธุ์หญ้าไข่มุก (Pearl Millet ) เพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์ ดำเนินการในปี พ.ศ. 2531-2533 และรายงานผลงานวิจัยในผลงานวิจัยเพื่อสนับสนุนโครงการน้ำพระทัยจากในหลวง (อีสานเขียว) : ผู้ร่วมโครงการ การคัดเลือกพันธุ์และผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวฟ่างไม้กวาดสำหรับเพาะปลูกในประเทศไทย ดำเนินการในปี พ.ศ. 2532-2533 และรายงานผลงานวิจัยในผลงานวิจัยเพื่อสนับสนุนโครงการน้ำพระทัยจากในหลวง (อีสานเขียว) : หัวหน้าโครงการ