บทเรียนเพาเวอร์พอยท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
แฟนพันธุ์แท้เรขาคณิต
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
สรุปภาพรวมหน่วยคณิตศาสตร์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
ความเท่ากันทุกประการ
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
ว ความหนืด (Viscosity)
ระบบอนุภาค.
คำศัพท์บทที่ 1 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงพัฒน จัดทำโดย นางสาวมานิตา จันแก่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 22 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก.
Quadratic Functions and Models
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แผนการจัดการเรียนรู้
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)
โรงเรียนตรอนตรีสินธุ์ อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์
วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่อง เซต
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
พื้นที่ผิว และปริมาตร
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ทรงกลม.
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
หน้า 1/8. หน้า 2/8 พลังงาน หมายถึง ความสามารถ ในการทำงาน ชึ่งถ้าหากพลังงานมาก ก็จะมี กำลังมาก การคิดถึงเรื่องเหล่านี้ เราจะเห็น ความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า.
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน (ง่าย ๆ)
ความเท่ากันทุกประการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนเพาเวอร์พอยท์ ชุดที่ 1 เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนาเชือกวิทยาสรรพ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2

ในเรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน จุดประสงค์การเรียนรู้ เข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิต ในเรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และสามารถนำไปใช้ได้

การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน

การเปลี่ยนตำแหน่งรูปสามเหลี่ยม ABC บนระนาบโดยการเลื่อนขนาน

การเปลี่ยนตำแหน่งรูปสามเหลี่ยม ABC บนระนาบโดยการพลิกรูป l

การเปลี่ยนตำแหน่งรูปสามเหลี่ยม ABC บนระนาบโดยการหมุน

การดำเนินการดังกล่าวทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเฉพาะ ตำแหน่งเท่านั้นส่วนรูปทรงและขนาดยังคงเท่าเดิม การเปลี่ยนแปลงทางเรขาคณิตในลักษณะนี้ เรียกว่า การแปลง (Transformation)

การแปลงทางเรขาคณิต (Transformation) คือ การดำเนินการซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในเรื่องของ ตำแหน่ง และ/หรือ รูปทรงและ/หรือ ขนาดของวัตถุ

การเลื่อนขนาน (Translation) การสะท้อน (Reflection) การหมุน (Rotation) การแปลงที่เป็นการเคลื่อนที่คงรูป สัมพันธ์กับการเท่ากันทุกประการ การแปลงแบบนี้รูปที่เกิดขึ้นจะยังคงรักษาระยะห่างระหว่างจุดสองจุดใด ๆ หลังการแปลง กับระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในรูปต้นแบบก่อนการแปลง ได้แก่ การเลื่อนขนาน (Translation) การสะท้อน (Reflection) การหมุน (Rotation)

รูปเรขาคณิตก่อนการแปลง จะเรียกว่า รูปต้นแบบ ส่วนรูปเรขาคณิต หลังการแปลง เรียกว่า ภาพ ที่ได้จากการแปลง A A’ รูปต้นแบบ ภาพ B C B’ C’

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปต้นแบบกับภาพ เลื่อน A’ A จุด A เป็นรูปต้นแบบของจุด A’ (อ่านว่า เอ ไพร์ม) จุด A’ เป็นภาพที่ได้จากการแปลงจุด A กล่าวว่า จุด A สมนัยกับจุด A’

จุด A สมนัยกับจุด A’ จุด B สมนัยกับจุด B’ จุด C สมนัยกับจุด C’ กำหนดรูป  ABC เป็นรูปต้นแบบ รูป  A’B’C ’ เป็นภาพที่ ได้จากการแปลง  ABC A รูปต้นแบบ A’ ภาพ B C C’ B’ l จุด A สมนัยกับจุด A’ จุด B สมนัยกับจุด B’ จุด C สมนัยกับจุด C’

PQ และ P’Q’ เป็นด้านที่สมนัยกัน จุด Q สมนัยกับจุด Q’ กำหนดรูป  PQR เป็นรูปต้นแบบ รูป  P’Q’R ’ เป็นภาพที่ได้จากการแปลง  PQR หมุน P Q’ P’ Q R R’ จุด P สมนัยกับจุด P’ PQ และ P’Q’ เป็นด้านที่สมนัยกัน จุด Q สมนัยกับจุด Q’ PR และ P’R’ เป็นด้านที่สมนัยกัน จุด R สมนัยกับจุด R’ QR และ Q’R’ เป็นด้านที่สมนัยกัน

สรุป รูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการแปลงทางเรขาคณิต ภาพ การเลื่อนขนาน การสะท้อน ภาพ รูปต้นแบบ l การหมุน ภาพ รูปต้นแบบ