บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

พื้นที่จุดอ่อนน้ำท่วมและการแก้ปัญหา
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
แนวทางการเลือกพื้นที่เป้าหมาย
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การประยุกต์ใช้แบบจำลอง SOBEK
COP : พัฒนาแหล่งน้ำ.
แนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม จ.กำแพงเพชร
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
1. การให้ความรู้ด้านการผังเมือง
การบริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศ
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน
พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานกรรมการหอการค้าไทย วันพุธที่ 21 ธันวาคม 2554 ณ ห้องคริสตัล ฮอลล์ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าความเข้มกลิ่นของอากาศเสีย ที่ปล่อยทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
แผนพัฒนาระบบข้อมูล การจัดทำรายงาน และแผนการสนับสนุน.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ความคืบหน้าของรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
โครงการพัฒนาลุ่มน้ำก่ำอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
CAMT Ratchapong Horchairat No หลักการการวิจัยการ จัดการความรู้ (Principles of Knowledge Management Research) KM704 1 Assignment.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
การประชาคมชุมชน โครงการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
“ทช.โปร่งใส ใส่ใจคุณธรรม นำความซื่อสัตย์ ขจัดการทุจริต”
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Natural Resources Benjavun Ratanasthien Department of Geological Sciences, Faculty of Sciences, Chiang Mai University.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและ การเกษตร ( องค์การมหาชน )
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ ดร.ธงชัย โรจนกนันท์ สำนักงานผู้ประสานงานด้านสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง กระทรวงมหาดไทย 21 ธันวาคม 2554

ประเด็นหลัก ๐ ผังเมืองจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาน้ำท่วมได้หรือไม่ และประเด็นของการใช้พื้นที่โดยไม่ได้วางแผนดีพอ เช่นการขยายตัวของเมือง การใช้พื้นที่เกษตรเป็นอุตสาหกรรม ทำให้ภาวะน้ำท่วมที่ผ่านมารุนแรงมากน้อยแค่ไหน อย่างไร ๐ ผลของวิกฤติอุทกภัยครั้งนี้ ทำให้พื้นที่ต่างๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง ๐ แผนการจัดทำผังเมืองใหม่เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วม สำหรับย่านที่อยู่ พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่รับน้ำ พื้นที่เกษตร และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ควรเป็นเช่นไรบ้าง

กรุงเทพและปริมณฑลเป็นที่ลุ่มต่ำ...ใครบ้างไม่รู้? แหล่งข้อมูล : คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

น้ำท่วมใหญ่ปี 2554 เป็นบทเรียนไม่ใช่ประสบการณ์

ผังเมืองมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาน้ำท่วมได้ ด้วยการกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินและการขยายตัวของเมืองที่เหมาะสม

ราวปี 2527-2531 กรมการผังเมืองได้แสดงความเห็นค้านการพัฒนาอุตสาหกรรมบนพื้นที่ลุ่มเกษตรกรรมเดิม (อยุธยา)

ผังเมืองรวมกทม. ปี 2535 ปรากฏ Floodway ชัดเจน

แต่ผังเมืองปริมณฑลเอาบ้านจัดสรร ไม่เอา Floodway

ปัจจุบันมีบ้านจัดสรรมากกว่า 90 โครงการบน Floodway

มาตรการผังเมือง-อนุรักษ์พื้นที่น้ำท่วมหลาก (Floodway) โครงการตามแนวพระราชดำริ ผังเมืองรวมเมืองชุมพร 2543

ผังควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน และแนวน้ำท่วมหลาก ลุ่มน้ำเพชรบุรี 2548 ผังควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน และแนวน้ำท่วมหลาก ลุ่มน้ำเพชรบุรี 2548

มาตรการผังเมืองป้องกันน้ำท่วมถูกเสนอแนะกรณีหาดใหญ่ ศึกษาวิเคราะห์เสร็จ 2545 ระบุแนวน้ำท่วมหลากและแก้มลิง

ผลของวิกฤติอุทกภัยครั้งนี้ บางพื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลง บางแห่งเสี่ยงภัยน้ำท่วมมากขึ้น เพราะต่างแข่งกันถมที่ดินสูงขึ้น สร้างกำแพงคอนกรีตสูงมากขึ้น ต่างเอาตัวรอด

ต้องทบทวนแนวความคิดการป้องกันน้ำท่วม ต้องทบทวนแนวความคิดการป้องกันน้ำท่วม..เลิกถมคลองสร้างเขื่อน ทำลายภูมิทัศน์ คลองแคบลง ทำลายระบบนิเวศ เปลี่ยนสังคมชนบท

ต่อจากนี้..ชุมชนริมน้ำตอนบนจะแข่งกันสร้างกำแพงคอนกรีต

ไม่เอา Floodway เสนอ Flood Tunnel ยาว 100 กิโลเมตร จากบางปะอินถึงสมุทรปราการ 200000 ล้านบาท

แผนการจัดทำผังเมืองใหม่เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วม สำหรับย่านที่อยู่ พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่รับน้ำ พื้นที่เกษตร และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ควรเป็นเช่นไรบ้าง

เร่งแก้ปัญหาสำคัญ-ท้องถิ่นไม่เข้มงวดกฎหมายผังเมือง และกฎหมายควบคุมการก่อสร้างอาคาร

เตรียมแผนรับภัยพิบัติระดับชาติ ภาค เมือง และชุมชน Source;www/hydro.iis.u-tokyo.ac.jp/.../map/drainage.gif

ต้องมีแผนรองรับระดับลุ่มน้ำ รักษาแก้มลิงและ Floodway Source; Royal Irrigation Department

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว ตามประกาศกฎกระทรวง ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน 2550

เปลือกโลกบริเวณกรุงเทพมหานครกำลังทรุดตัวลง

อนาคตภัยธรรมชาติจะรุนแรงขึ้น สภาพภูมิอากาศจะแปรปรวนเกินกว่าคาดการณ์

จบการนำเสนอ