โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
พันตำรวจเอกหญิง จันทนา วิธวาศิริ
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Group Learning HIVQUAL-T Forum
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ผลงานที่ไม่เคยเก็บตัวชี้วัด
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
ส่งเสริมสัญจร.
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
Succsess story กลุ่มงานฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก

ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ศูนย์พึ่งได้ เด็กที่ได้รับ ผลกระทบจาก เอดส์ เด็กเปราะบาง เด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช ดูแลวัยใสให้ปลอดภัย & ก้าวย่างอย่างมีคุณค่า โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช

ปัญหา และความสำคัญ การล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็ก เป็นปัญหาที่มีความละเอียดอ่อน ส่งผลกระทบต่อเด็กทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม ด้านร่างกาย ทำให้ร่างกายของเด็กมีบาดแผล ฟกช้ำ เนื่องจากการถูกทำร้าย หรือเกิดโรคเอดส์ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ ด้านจิตใจ ทำให้เด็กฝันร้าย ซึมเศร้า กังวล พยายามทำร้ายตัวเอง หรือฆ่าตัวตาย หวาดกลัวผู้กระทำทางเพศ     ด้านพฤติกรรม ทำให้เด็กมีอาการซึมเศร้า ก้าวร้าว ผลการเรียนแย่ลง หนีออกจากบ้าน ไม่สามารถควบคุมระบบขับถ่าย หวนกลับไปสู่พฤติกรรมต่ำกว่าวัยของตนอย่างกะทันหันอาจหันไปพึ่งเสพยาเสพติด หรือสำส่อนทางเพศ   อย่างไรก็ตาม อาการต่าง ๆที่ส่งผลต่อเด็ก อาจเกิดขึ้นหลังจากเกิดเหตุการณ์ล่วงละเมิดไปแล้วหลายปี ทำให้บางครั้งนานจนดูเหมือนว่า เหตุการณ์นั้นไม่น่าจะมีผลอะไรต่อเด็ก แต่จริง ๆ แล้ว เรื่องราวต่าง ๆ ยังฝังอยู่ในใจของเด็ก การดูแลช่วยเหลือด้านร่างกายและจิตใจ หลังจากเด็กถูกล่วงละเมิดทางเพศ จึงมีความสำคัญ ต่อการก้าวย่างเข้าสู่วัยรุ่น หรือเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ โรงพยาบาลทุ่งสง เห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้กำหนดนโยบายให้มีการดูแลเด็กกลุ่มนี้ ตั้งแต่ ปี 2552

เป้าหมาย เด็กปลอดภัยจากโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เด็กได้รับการดูแลสร้างเสริมด้านจิตใจ

การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการดูแลเด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ระบบบริการ ผู้ให้บริการ ดูแลร่วมกันหลายสาขา สูตินรีแพทย์ กุมารแพทย์ อายุรแพทย์ พยาบาลจิตเวช เภสัชกร ให้บริการหลายจุดบริการ ขั้นตอนบริการ ในเวลา นอกเวลาราชการ การเก็บรักษาความลับ ช่วงเวลาตรวจของสูตินรีแพทย์ การดูแล เด็ก RAPE ไม่ได้ถูกล่วงละเมิด แต่ สมัครใจ เมื่อผู้ปกครองรู้ จึงพามาแจ้งความ ไม่กล้าบอกผู้ปกครอง ตั้งครรภ์ ก่อนมารับการรักษา ถูกล่วงละเมิดมานานมากกว่า 72 ชม ก่อนมาถึงรพ. รพ.มี 2 แห่ง ผู้ป่วย สถานที่

แนวทางการพัฒนา กำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ดูแลเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงทางเพศ และมอบหมายให้มีหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบหลัก จัดระบบบริการ/ขั้นตอนการบริการ/แบบบันทึก ที่เอื้อต่อการดูแลรักษาตั้งแต่แรกรับ และดูแลต่อเนื่อง ให้การดูแลรักษาโดยสหวิชาชีพ ครอบคลุมด้านร่างกาย (การใช้ยาป้องกันการติดเชือเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันการตั้งครรภ์ และให้การปรึกษาดูแลจิตใจ จัดระบบดักจับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการให้บริการและแก้ไขปัญหาป้องกันการเกิดซ้ำ ได้แก่ ** การรักษาความลับของผู้ป่วย จึงกำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ การเก็บรักษาความลับของผู้ป่วยเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงทางเพศ ** ผู้ป่วยเกิดอาการข้างเคียงจากการรักษาด้วยยาต้านไวรัส เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ให้การช่วยเหลือดูแลด้านจิตใจต่อเนื่อง กรณีเด็กถูกสอบปากคำ โดยพยาบาลวิชาชีพ ร่วมกับพนักงานตำรวจ อัยการ

นโยบาย /แนวทางการปฏิบัติดูแลเด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ

ขั้นตอนการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเพื้อป้องกันการติดเชื้อ

การติดตามดูแลต่อเนื่อง

นโยบายการเก็บรักษาความลับ

ผลลัพธ์

ผลลัพธ์

การวิเคราะห์ เด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง กลุ่มอายุ 11- 15 ปี ผู้กระทำส่วนใหญ่ เป็นแฟน รองลงมาเป็นเพื่อนและ เพื่อนบ้าน สาเหตุของการกระทำ เนื่องจากสภาพแวดล้อม เด็กที่มารับบริการหากเข้าเกณฑ์ข้อบ่งชี้ที่สามารถรับยาต้านเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี จะได้รับยาทุกราย จากการติดตามหลังเกิดเหตุ 3 เดือน ผลพบว่า เด็กกลุ่มนี้ไม่มีการติดเชื้อเอชไอวี มีเด็กหนึ่งราย ติดเชื้อเอชไอวี ตั้งแต่ แรกรับบริการ ผู้ป่วยขอกลับไปรักษาที่ภูมิลำเนาเดิม ภาคอีสาน ด้านการตั้งครรภ์ พบว่า เด็ก 3 ราย (อายุ 12,14,15 ปี ) ตั้งครรภ์ขณะแรกรับ ให้การดูแลตามแผนการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ด้านสภาพจิตใจ สามารถดูแลตนเอง เรียนหนังสือ ต่อได้

บทเรียน การดูแลเด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ท่าที คำพูด การสอบถามประวัติการถูกกระทำ ต้องอาศัยทักษะ ประสบการณ์ เพื่อไม่เป็นการตอกย้ำความรู้สึกต่อเด็ก ทีมผู้ดูแล ควรมีการประเมินความมีคุณค่าในตัวเองของเด็ก ต่อ วิกฤตที่เกิดขึ้น เพื่อวางแผนและให้การดูแลช่วยเหลือ ป้องกันผลกระทบเมื่อเข้าสู้วัยผู้ใหญ่ หรือวัยที่จะมีคู่ครอง การเก็บรักษาความลับเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ในการดูแลเด็กกลุ่มนี้

การติดต่อกับทีมงาน นางอารี สุภาวงศ์ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางอารี สุภาวงศ์ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางพิมพ์จิตต์ สิทธิดำรงค์ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช โทรศัพท์ 075 -410100 ต่อ 8366,8446 โทรศัพท์มือถือ 089-1951905