Adherence ภก. เสถียร วงศ์ใหญ่ โรงพยาบาลโพนพิสัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การปรับเปลี่ยนประมาณการใช้ยา และการคืนยา (ปรับ FM3)
แนวทางการดำเนินงานตู้ยาในครัวเรือน
การศึกษารายกรณี.
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ข้อควรจำและปัญหาที่ พบบ่อยๆ ทั่วไป 1. ต้องปรับหน้าจอเป็น 1024 x 768 pixels โดยเฉพาะ Explorer7 2. โรงเรียน หรือ สพท. ที่ไม่สามารถเข้าประชุม ได้ให้ติดตามรายละเอียดย้อนหลัง.
โครงการยาต้านไวรัสเอดส์
พันตำรวจเอกหญิง จันทนา วิธวาศิริ
Medication reconciliation
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
Tuberculosis วัณโรค.
สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
HIVQUAL-T (Thai) Version 5.0 Nov 18, 2008 สุชิน จันทร์วิเมลือง ศูนย์ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย - สหรัฐ.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
NAP Annual report NHSO HIV/AIDS Management Fund 2008.
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
เล่าเรื่องที่ประทับใจ
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
Case Manageme nt พิมพ์ศิริ เลี่ยวศรีสุข สถาบันสุขภาพเด็ก แห่งชาติมหาราชินี
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
ปัจจุบันสามารถลงข้อมูลได้ทั้ง Off-line และ On-line เริ่ม 14 มีนาคม 54 แต่ต้องส่งจาก offline ออกสู่อินเตอร์เน็ตก่อน หลังจากนั้นขอใช้เป็นตัว online ไปเลย.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
ผลงานเด่นรพ.สต.บ้านทุ่งปี,54
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Adherence ภก. เสถียร วงศ์ใหญ่ โรงพยาบาลโพนพิสัย รายการ จำนวน การลงทะเบียนผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ (คน) ผู้ป่วยรายเก่า ( ก่อน 11/11/2551 ) เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้ป่วยรายใหม่ ( ระหว่างวันที่ 11/11/2551 ถึง 30/04/2552 ) 307 276 15 261 31 1 30

Adherence รายการ จำนวน การได้รับยา ARV ( คน ) สูตรพื้นฐาน ( คน ) เด็ก ผู้ใหญ่ สูตรเพิ่มเติม หรือสูตรดื้อยา ( คน ) 200 197 11 186 3

Adherence รายการ จำนวน การขอเปลี่ยนสูตรยา ARV ( ครั้ง ) ภายในสูตรพื้นฐาน ( ครั้ง ) จากสูตรพื้นฐานเป็นสูตรเพิ่มเติม ( ครั้ง ) ภายในสูตรเพิ่มเติม ( ครั้ง ) 10

Adherence รายการ จำนวน การตรวจทางห้องปฏิบัติการ HIV ( ครั้ง ) PCR ( ครั้ง ) CD4 ( ครั้ง ) Viral Load ( VL ) ( ครั้ง ) Drug Resistance ( DR ) ( ครั้ง ) Blood Chemistry ( BL) ( ครั้ง ) 130 18 218 127

จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV แยกตามสูตรยา จำนวน ( คน ) 1. AZT + 3TC + EFV A 5 2. AZT + 3TC + LPV/RTV + TDF D 1 3. AZT + 3TC + NVP 4. AZT + LPV/RTV + TDF 2 5. d4T + 3TC + NVP ( GPO-VIR S 30 ) 148 6. AZT + 3TC + NVP ( GPO – VIR Z ) 22 7. AZT + 3TC + EFV 3 8. d4T + 3TC + EFV 10. OI Prophylaxis 6 รวม 206

**** ยกเลิกการใช้ Lock Book ในการติดตามการกินยาของคนไข้***** การติดตาม Adherence **** ยกเลิกการใช้ Lock Book ในการติดตามการกินยาของคนไข้***** เนื่องจาก - ผู้ป่วยเคยชินในการบันทึก ทำให้มีการบันทึกล่วงหน้า - ผู้ป่วยไม่สามารถตอบคำถามผู้คนรอบข้างได้ว่า กำลังบันทึกอะไร เพราะผู้ป่วย บางคนยังไม่กล้าเปิดเผยตัว - คนไข้ไม่บันทึก ###### จะมีเครื่องมืออะไรที่พอจะใช้ได้ ######

การติดตาม Adherence เครื่องมือที่ยังเหลืออยู่ Pill Count ยังใช้ได้ ให้คนไข้นับยาด้วยตัวเอง แล้วเซ็นชื่อไว้เป็นหลักฐานว่าได้ยาครบหรือไม่ แบบสัมภาษณ์ ให้คนไข้ได้ระบายความในใจ เกี่ยวกับการกินยาในเดือนที่ผ่านมา ปัญหาในการกินยา เวลาในการกินยา

การติดตาม Adherence คำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ - เวลาที่กินยากี่โมง - ใช้อะไรเป็นเครื่องช่วยเตือนในการกินยา - ในเดือนที่ผ่านมากินยาเกินเวลา 30 นาทีกี่ครั้ง - ในกรณีที่คนไข้กินยาเกิน 30 นาที จะถามว่าทำไมถึงเกินเวลาไปมาก และมักจะย้ำให้คนไข้ได้ตระหนักว่าต้องกินยาให้ตรงเวลาเสมอ ถ้าไม่ตรงเวลา รักษาไม่ได้ผล เชื้อจะดื้อยา การรักษาต่อไปจะต้องเพิ่มยาหลายเม็ด และเม็ดยามี ขนาดใหญ่ทำให้กินลำบากมาก และจะนำเม็ดยามาให้คนไข้ดู และยกตัวอย่าง เพื่อนที่ดื้อยามาเปรียบเทียบให้คนไข้ดูเพื่อเป็นกรณีศึกษา

การติดตาม Adherence ผลการคำนวณ % Adherence โดยวิธีสัมภาษณ์ รายการ จำนวน(คน) < 95% > 95% 1 .ผู้ป่วยที่ได้รับการสัมภาษณ์ 189 5 184 2. ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการสัมภาษณ์ ( ผู้ป่วยเด็ก ) 11 รวม 200

การติดตาม Adherence ผลการคำนวณ % Adherence โดยวิธีสัมภาษณ์

สาเหตุที่ทำให้ % Adherence < 95 % คนที่ เหตุผล การแก้ไขปัญหา 1 ลืมกินยา สร้างความเข้าใจให้รู้ถึงผลที่จะตามมา แนะนำให้หาเครื่องช่วยเตือนที่มีเสียงดัง 2 ต้องเอาลูกไปโรงเรียนทุกวัน ทำให้ลืมกินยา แนะนำไห้เปลี่ยนเวลาในการกินยาจาก 2 โมงเช้า เป็น 1 โมงเช้าและ 1 ทุ่ม 3 ช่วงที่กินยาจะอยู่บนรถเมล์ตลอด ทำไห้ไม่สะดวกในการกินยา แนะนำให้เปลี่ยนเวลาในการกินยา 4 กินสูตรดื้อยาหลายตัว ทำให้สับสนในการกินยา ฝึกให้คนไข้หยิบยาให้ดู ในการกินยาแต่ละครั้งจนคนไข้จำได้ และนำไปปฏิบัติจริงที่บ้าน 5

ข้อสังเกต ยังมีคนไข้อีกหลายคนที่เข้าใจว่าจะต้องกินยาได้เฉพาะเวลา 2 โมงเช้า และ 2 ทุ่ม เวลาอื่นกินไม่ได้ ทั้งที่เวลาที่ว่านี้ตนเองไม่สะดวกในการกินยา คนไข้กินยาต้านกินตรงเวลา แต่ลืมกินยา OI โดยเฉพาะ Fluconazole 2 tab/wks จากการสัมภาษณ์ยังไม่มีคนไข้คนใดกินยาได้ตรงเวลา 08.00 น.ทุกครั้งส่วนใหญ่เกินไป 5 – 10 นาที ถ้าอย่างนั้นเปลี่ยนเวลาการกินยามาเป็น 08.05 – 08.10 น. จะดีหรือไม่