ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การทำงานของคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำงานตามหลักตรรกศาสตร์ ทำงานตามกฎของวอน นิวแมน คือ “จะมีการประมวลผลคำสั่งแบบเป็นลำดับ จากหน่วยความจำหลักเท่านั้น”
การทำงานของคอมพิวเตอร์(ต่อ) RAM เป็น หน่วยความจำหลัก คำสั่งที่จะทำงานจะอยู่ใน RAM CPU ทำหน้าที่นำคำสั่งมาแปลและสั่งงานต่อ คำสั่งใน RAM จะอยู่ในเลขฐานสอง
การทำงานของคอมพิวเตอร์(ต่อ)
การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ต้องได้รับคำสั่ง โปรแกรมเมอร์(programmer) หมายถึง ผู้เขียนโปรแกรม คือ ผู้ที่นำคำสั่งของภาษาต่างๆ มาทำการเรียบเรียง เพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้ทำงานตามที่ต้องการ
ระดับของภาษาในการเขียนโปรแกรม ภาษามนุษย์ ระดับสูง ระดับต่ำ ภาษาเครื่อง ระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ระดับต่ำใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง
เครื่องมือในการเขียนโปรแกรม เรียกว่าตัวแปลภาษา เป็นโปรแกรมอย่างหนึ่งที่ใช้ในการแปลคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง
เครื่องมือในการเขียนโปรแกรม Print A Print B C = A + B Print C 10011010 11101100 10110110 10001001 ตัวแปลภาษา ภาษาโปรแกรม ภาษาเครื่อง
ประเภทของตัวแปลภาษา แบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการทำงาน 1. คอมไพล์เลอร์ (compiler) 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter)
1. คอมไพเลอร์ (Compiler) ทำการตรวจสอบไวยกรณ์ทั้งหมดก่อนที่จะทำการแปลเป็นภาษาเครื่อง ทำงานได้เร็ว ต้องถูกต้องทั้งหมดจึงจะทำงานได้ C, PASCAL
2. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ตรวจสอบไป แปลไป ทำงานได้ตามคำสั่งที่ถูก การทำงานช้าเพราะต้องแปลตลอด HTML, Java Script, PHP, ASP
กระบวนการเขียนโปรแกรม ศึกษาปัญหา จุดมุ่งหมายและความต้องการของผู้ใช้ ออกแบบโปรแกรม เขียนโปรแกรม ทดสอบ ทำเอกสารประกอบ
1. ศึกษาความต้องการของผู้ใช้ Requirement Analysis) ช่วยทำให้เขียนโปรแกรมได้ตรงตามความต้องการ ทำงานได้ถูกต้อง
2. ออกแบบโปรแกรม (Design) สร้างเค้าโครงเพื่อนำไปใช้เป็นแนวทางในการเขียนโปรแกรม
3. เขียนโปรแกรม(Coding) ลงมือเขียนโปรแกรมตามที่กำหนดไว้โดยใช้ภาษาต่างๆ
4. ทดสอบ (Testing) ตรวจสอบว่าการทำงานของโปรแกรมนั้นถูกต้องตามความต้องการของผู้ใช้หรือเปล่า
ความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรม ความผิดพลาดที่ไวยกรณ์ (syntax error) ความผิดพลาดในขณะทำงาน (runtime error) ผลลัพธ์ผิดพลาด (result error)
5. การทำเอกสารประกอบ (Documenting) สร้างความเข้าใจให้กับผู้ใช้และเป็นคู่มือในการดูแลและการพัฒนาต่อไป
โครงสร้างของโปรแกรม แบบลำดับ (sequence structure) แบบเงื่อนไข (condition structure) แบบทำซ้ำ (repetition structure)
แบบลำดับ (sequence structure) คำสั่งต่างๆทำงานครั้งเดียว การทำงานเป็นไปตามลำดับจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด ทำงานทุกคำสั่ง
แบบเงื่อนไข (condition structure) คำสั่งต่างๆทำงานไม่เกิน 1 ครั้ง ลำดับการทำงานเป็นไปตามลำดับจากจุดเริ่มไปจุดสุดท้าย จะมีบางคำสั่งไม่ถูกใช้งานตามเงื่อนไขที่กำหนด
ซอสโค๊ด ซอสโค๊ด (source code) คือ คำสั่งในภาษาโปรแกรมที่ยังไม่ถูกแปลเป็นภาษาเครื่อง จะแตกต่างกันไปตามแต่ละภาษา
โปรแกรม โปรแกรม คือ คำสั่งที่ถูกแปลงเป็นภาษาเครื่องเรียบร้อยแล้วแต่ยังไม่ถูกใช้งานถูกเก็บอยู่ในฮาร์ดดิสก์เรียกอีกอย่างว่าเอกซิคิวเทเบิ้ลไฟล์ (executable file) หรือเลขฐาน 2
โปรเซส โปรเซส คือ โปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ในหน่วยความจำ