“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
Advertisements

พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ส่วนอำนวยความเป็นธรรม สำนักการสอบสวนและนิติการ
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
อุทธรณ์.
กรณีตัวอย่างความผิดฐานชู้สาว
การดำเนินการทางวินัย ข้าราชการ
การดำเนินการทางวินัย ลูกจ้างประจำ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
วิชาว่าความและ การถามพยาน
บทที่ 2 ขอบเขตการใช้กฎหมาย
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
โดย ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
การกำหนดประเด็นสอบสวน
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
อำนาจและหน้าที่ของพนักงานอัยการ
กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
The Comptroller General’s Department
การตั้งเรื่องกล่าวหา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการกระทำอันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ พ.ศ. ๒๕๕๓
3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ปีงบประมาณ 2556 ออกจากราชการ วันที่ 1 ตุลาคม 2555 (รุ่นสุดท้ายตามมาตรการปรับปรุง อัตรากำลังของส่วนราชการ)
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
ระเบียบคณะกรรมการวัตถุอันตรายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
มีคำสั่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนหรือให้สืบสวน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การทุจริตทางทะเบียนและบัตร
กลุ่มที่ 3 แนวทางในการบูรณาการ การปราบปรามตามกฎหมายฟอกเงิน
กฎหมายที่หัวหน้างานควรรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
ความผิดฐาน ละทิ้งหน้าที่ราชการ.
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราช อิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย.
การสืบสวน.
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
คุณเคยสงสัยใน หลักเกณฑ์ การย้ายและการ โอนบ้างไหมครับ ไม่ต้องกังวล อีก ต่อไปแล้ว ครับ อยากรู้ลอง คลิกดู การ โอน ติดต่อ Web Master หากมีข้อสงสัย ในเรื่องการโอน.
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
หน่วย แผนกธุรการและกำลังพล
1. มาอย่างไร 2. ปัจจุบันใครเป็นบ้าง 3. อำนาจหน้าที่ได้มา อย่างไร 4. ผู้อื่นทำหน้าที่แทนได้ หรือไม่ 1. มาอย่างไร 2. ปัจจุบันใครเป็นบ้าง 3. อำนาจหน้าที่ได้มา.
หลักเกณฑ์การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับลูกจ้างประจำ
แนวคิดเกี่ยวกับวินัยและการลงโทษ
ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา
ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเลื่อนขั้นคาจางลูกจางประจําของ
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท “ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ.ต.ท.หญิง ดารณี แจ้งไพร รอง ผกก.ฝอ.4 อมศ. บช.ศ. โทร. 0-2513-3894, 08-1306-5276 บรรยายให้กับข้าราชการตำรวจ สตม. เมื่อปี พ.ศ. 2550 จำนวน 3 ชั่วโมง

วินัย คือ อะไร ? พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของ “ วินัย” วินัย คือ อะไร ? พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของ “ วินัย” วินย-, วินัย [ วินะยะ-] น. ระเบียบแบบแผน และข้อบังคับ,ข้อปฏิบัติ, เช่น วินัยทหาร ทหารต้องยึดมั่นในวินัย ...

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 2. กฎ ก.ตร. 2.1 ว่าด้วยกรณีที่เป็นความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง พ.ศ.2547 2.2 ว่าด้วยการอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์ พ.ศ.2547 2.3 ว่าด้วยการร้องทุกข์ พ.ศ.2547 2.4 ว่าด้วยวิธีการออกคำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษ พ.ศ.2547 2.5 ว่าด้วยอำนาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547 3. ระเบียบ ก.ตร. ว่าด้วย วิธีการเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการตำรวจ มีวินัย และป้องกันมิให้ข้าราชการตำรวจกระทำผิดวินัย พ.ศ.2549 4. คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548 ฯลฯ

ประเภทของความผิดวินัย 1. ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง 2. ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง

ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง มาตรา 78 แห่ง พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 (1) – (17) ข้อปฏิบัติและข้อห้าม (18) ตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร.

ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง มาตรา 79 แห่ง พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 (1) – (6) ข้อห้าม (7) ตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร.

โทษทางวินัยมี 7 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ทัณฑกรรม 3. กักยาม 4. กักขัง โทษทางวินัยมี 7 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ทัณฑกรรม 3. กักยาม 4. กักขัง 5. ตัดเงินเดือน 6. ปลดออก 7. ไล่ออก

ความแตกต่าง ระหว่างความผิดวินัย อย่างไม่ร้ายแรง กับ อย่างร้ายแรง ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง ตัดเงินเดือน ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ปลดออก ไล่ออก

ความผิดวินัย แตกต่างกับ ความผิดอาญา ? ความผิดวินัย แตกต่างกับ ความผิดอาญา ? โทษ อายุความ ผลอันเกิดจากความตาย ของผู้กระทำความผิด

ระดับการลงโทษข้าราชการตำรวจของ 1. ตร. 2. ก.ตร.

ผู้มีอำนาจลงทัณฑ์ กฎ ก.ตร. ว่าด้วยอำนาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547 ข้อ 2 ผู้บังคับบัญชาจะลงโทษ ..เพียงใดให้เป็นไปตามตารางกำหนดอำนาจและอัตราการลงโทษข้าราชการตำรวจที่ ก.ตร.กำหนด

การคำนวณระยะเวลา การลงโทษกักยามและกักขัง คำถาม? 1. วันแรกจะนับอย่างไร? หากเริ่มรับโทษเวลา 23.00 น. 2. นับติดต่อกันหรือไม่? กักยาม กักขัง 7 วัน จะขอรับโทษจันทร์ถึงศุกร์ และจันทร์,อังคาร ถัดไป ได้หรือไม่ โดยขอเว้นวันหยุด เสาร์อาทิตย์

การคำนวณระยะเวลา การลงโทษกักยามและกักขัง การคำนวณระยะเวลา การลงโทษกักยามและกักขัง กฎ ก.ตร. ว่าด้วยอำนาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547 ข้อ 3

ผู้รับโทษกักยาม และผู้รับโทษกักขัง ผู้รับโทษกักยาม และผู้รับโทษกักขัง กักยาม เฉพาะ ผกก. ลงมา กักขัง ตั้งแต่ รอง สว. ลงมา กฎ ก.ตร. ว่าด้วยอำนาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547 ข้อ 6

คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548 เรื่อง มอบอำนาจการดำเนินการทางวินัย การสั่งให้ข้าราชการตำรวจ ออกจากราชการ และกำหนด แนวทางปฏิบัติ

คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548 มอบอำนาจการดำเนินการทางวินัย คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548 มอบอำนาจการดำเนินการทางวินัย วินัยถึงที่สุด เมื่อใด - วินัยอย่างไม่ร้ายแรง - วินัยอย่างร้ายแรง การรายงานการดำเนินการทางวินัย

การรายงานตนเมื่อต้องคดี 1.ประเภทของคดี คดีอาญา คดีแพ่ง คดีล้มละลาย

2.กำหนดเวลาการรายงานตน เมื่อต้องคดี 2.กำหนดเวลาการรายงานตน เมื่อต้องคดี ภายใน 3 วัน นับตั้งแต่... คดีอาญา 1. พงส.ดำเนินคดี นับตั้งแต่วันถูกจับกุม, ถูก พงส. เรียกตัวไปสอบสวนหรือแจ้งข้อหา 2. ผู้เสียหายฟ้องเอง นับตั้งแต่วันรับหมายศาล คดีแพ่ง นับตั้งแต่วันรับหมายศาล คดีล้มละลาย วันถูกยึดทรัพย์ ป.ระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 1 บทที่ 13 ข้อ 3

3. แบบของการรายงานเมื่อต้องคดี 3. แบบของการรายงานเมื่อต้องคดี 4. การรายงานความคืบหน้าของคดี จนกว่าคดีถึงที่สุด รายงานตนพ้นคดี / รายงานการต้องโทษทางอาญา, การชดใช้ชำระหนี้ ค่าสินไหมทดแทน บุคคลล้มละลาย

4. การเสนอรายงานตน เมื่อต้องหาคดีอาญา 4. การเสนอรายงานตน เมื่อต้องหาคดีอาญา เสนอ ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น

5. ผลจากการรายงานตนต้องคดีล่าช้า 5. ผลจากการรายงานตนต้องคดีล่าช้า ภาคทัณฑ์

การอุทธรณ์ มาตรา 105 พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มี 2 กรณี 1. ถูกสั่งลงโทษทางวินัย 2. ถูกสั่งให้ออกจากราชการ

การร้องทุกข์ มาตรา 106 พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 การร้องทุกข์ มาตรา 106 พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มี 3 กรณี ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ปฏิบัติต่อตน โดยไม่ถูกต้อง ผู้บังคับบัญชาไม่ปฏิบัติต่อตนให้ถูกต้อง ตามระเบียบกฎหมาย 3. ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบต่อตน

ขอขอบคุณ สวัสดีค่ะ