วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

ศาสนพิธี.
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
การใช้เทคโนโลยีสื่อผสม การเรียนการสอน
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
บุญ.
ชุมชน หมู่บ้านสามพราน หมู่๘ ตำบลอ้อมใหญ่ อ. สามพราน จ.นครปฐม
หลักธรรมสำคัญจากวันมาฆบูชา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
ทำวัตรเย็น.
ทำวัตรเช้า.
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
เทคนิคและกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน โดยประชาชนมีส่วนร่วม
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
วันอาสาฬหบูชา.
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การบริหารจิต.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
ครั้งที่ ๒.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การเขียน.
อิมินา สักกาเรนะ ตังพุทธัง อะภิปุชะยามิ
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
Evaluation of Thailand Master Plan
ครูธีระพล เข่งวา 1 สอนโดย … ครูธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
                                                                                       
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เรื่อง มงคล ๓๘ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวังไกลกังวล
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
ขอเชิญสวดมนต์ถวายพระพร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส33101
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
การเขียนโครงการ.
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส 2000-1301 เรื่อง...การบริหารจิตและการเจริญปัญญาตอนที่ 2 โดย...ว่าที่ ร.อ.ชัชวาลย์ จันทร์กลิ่น วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

e-mail : chanklin08@hotmail.com โทร. 0 3252 0500 ต่อ 204 e-mail : chanklin08@hotmail.com

สาระการเรียนรู้ 1. หลักการและวิธีสร้างสมาธิ 2. การไหว้พระสวดมนต์ 3. ประโยชน์ของสมาธิ ๔ ประเภท

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อธิบายหลักการและวิธีการสร้างสมาธิได้ 2. ปฏิบัติวิธีการสวดมนต์ได้ 3. บอกประโยชน์ของสมาธิได้

วิธีสร้างสมาธิโดยสะดวก ๔ วิธี 1. การใช้สติสัมปชัญญะ พิจารณากาย พิจารณาเวทนา พิจารณาจิต พิจารณาธรรม

2. แผ่ควารู้สึกที่ดียังมนุษย์และสัตว์ พรหมวิหาร ๔ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

อื่น ๆ แสงสว่าง อากาศ(ที่ว่าง) 3. โดยเพ่งจ้องวัตถุ ภูตกสิณ วรรณกสิณ อื่น ๆ แสงสว่าง อากาศ(ที่ว่าง)

การไหว้พระสวดมนต์ การสวดมนต์ เป็นวิธีที่ทำให้จิตแจ่มใส เบิกบานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

เครื่องสักการะ ธูป ๓ ดอก เทียน ๒ เล่ม ดอกไม้ ๑ ชุด

อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชยามิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชยามิ คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชยามิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชยามิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชยามิ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภควา ฯลฯ

คำกล่าวนอบน้อมพระพุทธเจ้า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (กล่าว ๓ หน)

บทแผ่เมตตาแก่ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะเวโร โหมิ อัพยาปัชโฌ โหมิ อะนีโฆ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ

บทแผ่เมตตาแก่สรรพสัตว์ สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ อัพยาปัชโฌ โหนตุ อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปริหะรันตุ

อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย บทอุทิศส่วนกุศล อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย

การเจริญปัญญาตามหลักอานาปานัสสติ อานาปานัสสติ คือ การระลึกอยู่ในลมหายใจเข้า-ออก เป็นการเจริญสมาธิที่สะดวก ปฏิบัติได้ทุกเวลาและสถานที่ และเป็นวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ

วิธีการเจริญสมาธิแบบอานาปานัสสติ ๑. ขั้นเตรียม ควรหาสถานที่เงียบสงบ นั่งในอิริยาบถที่ผ่อนคลายสามารถปฏิบัติได้นาน ๆ ท่านั่งที่นิยมคือนั่งขัดสมาธิ หรือพระเรียกว่า นั่งคู้บัลลังก์

๒. ขั้นปฏิบัติ คือ การลงมือกำหนด ลมหายใจ ๒ ๒. ขั้นปฏิบัติ คือ การลงมือกำหนด ลมหายใจ ๒.๑การนับ เริ่มแรกนับช้า ๆ เป็นคู่ ๆ อย่าต่ำกว่า ๕ และอย่าให้เกิน ๑๐ ๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๗,๗ ๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๗,๗ ๘,๘ ๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๗,๗ ๘,๘ ๙,๙ ๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๗,๗ ๘,๘ ๙,๙ ๑๐,๑๐

ช่วงสองให้นับเร็ว เมื่อลมหายใจเข้าออกปรากฏชัดเจนดีแล้ว ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

๒.๒ การติดตาม เมื่อสติอยู่กับลมหายใจเข้าออกแล้วให้หยุดนับแล้วใช้สติติดตามลมหายใจไม่ให้ขาดระยะโดยใช้สติติดตามอยู่ตรงจุดที่ลมกระทบ จนในที่สุดจะเกิดสมาธิ

ประโยชน์ของสมาธิ 1. ทางศาสนา 1.1 ระดับต้น ระงับกิเลศ 1.2 ระดับสูง เกิดปัญญาดับกิเลส

2. ทางอภิญญา 2.1 อิทธิวิธี แสดงอิทธิฤทธิ์ 2.2 ทิพยโสต หูทิพย์ 2.3 เจโตปริยญาณ ทายใจคนได้ 2.4 ทิพยจักษุ ตาทิพย์ 2.5 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ

3. ทางการพัฒนาบุคลิกภาพ 3.1 เข้มแข็ง หนักแน่น 3.2 เยือกเย็น มั่นคง 3.3 สดชื่น ผ่องใส 3.4 เข้าใจตนเองและผู้อื่น 3.5 พร้อมเผชิญปัญหาแก้ปัญญหา

4. ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน 4.1 มีสติสัมปชัญญะ 4.2 มีความเพียร 4.3 คลายกังวลหวาดกลัว 4.4 ทำงานมีประสิทธิภาพ 4.5 รักษาบางโรคได้

สวัสดี