1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
Advertisements

การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การประกันคุณภาพภายนอก
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
รายงานการวิจัย.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
แนะนำวิทยากร.
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
PDCA คืออะไร P D C A.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การเขียนรายงานการวิจัย
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
Participation : Road to Success
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเพิ่มผลผลิต Productivity
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
หลักสูตรศิลปะการพูดในการนำเสนอ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ เป็นการอภิปรายหมู่ร่วมกันของทีมงาน ต่อ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยเน้นที่ผลการปฏิบัติ ว่าเป็นไปตาม “ สิ่งที่ควรจะเป็น ” อย่างไร การวิเคราะห์หลังการปฏิบัติ AAR AAR: After action review

2 พัฒนาบรรยากาศแวดล้อม ที่ทำ ให้เกิดการเรียน เมื่อเสร็จสิ้นการ ปฏิบัติกิจกรรม ยกระดับศักยภาพของปัจเจก และทีมงานโดย เน้นการให้ ข้อมูลป้อนกลับ เป้าหมาย AAR: After action review

3 เพื่อหาข้อเสนอแนะต่อทีมงาน ในการที่จะให้บรรลุตาม เป้าหมาย ของกิจกรรมครั้ง ต่อไป เพื่อสรุปบทเรียน “ เราจะไม่ ผิดพลาดซ้ำอีก ” เพื่อสร้างความเชื่อมั่นของ ทีมงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ ทีมงาน วัตถุประสงค์ AAR: After action review

4 AAR หลักการสำคัญของ AAR การทำหลังจากทำกิจกรรมเสร็จหรือ ระหว่างพัฒนา ทุกคนในทีมต้องเข้าร่วมพัฒนา ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้เกิดการ แลกเปลี่ยน เน้นกระบวนการและบรรยากาศการ เรียนรู้นำไปสู่การตัดสินใจ ผลลัพธ์คือชุดข้อเสนอแนะที่เจาะจง และปฏิบัติได้ (Specific Actionable Recommendation)

5 ไม่วิพากษ์ วิจารณ์ว่าใคร ผิด บรรยากาศ ต้องไม่ทำลาย คุณค่า สมาชิก / ทีมงาน ข้อควรระวัง AAR: After action review

6 คำถาม AAR 1. วัตถุประสงค์ / เป้าหมายของ กิจกรรมที่ปฏิบัติคืออะไร 2. สิ่งที่เกิดขึ้นในขณะดำเนิน กิจกรรมจนกระทั่งเสร็จสิ้น กิจกรรม เป็นไปตามแผน / วัตถุประสงค์หรือไม่ 3. อะไร คือ สิ่งที่ทำได้ดี / ไม่ดี เพราะอะไร ? 4. อะไร คือ สิ่งที่ควรปรับปรุงในการ ทำกิจกรรมในครั้งนี้ 5. อะไร คือ สิ่งที่เราเรียนรู้ครั้งนี้

7 ประเด็นที่อภิปรายใน AAR การวางแผนกิจกรรม เทคนิควิธีการที่ใช้ / ผล สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ / ผล การรับรู้ต่อเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้น บรรยากาศ ( การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ) ความรู้สึกไว้วางใจ การตอบคำถามและการ ตัดสินใจ บทเรียนรู้ที่ได้รับ การปรับเปลี่ยน วัฒนธรรมองค์กรและ ธรรมชาติของคนใน องค์กร สภาพแวดล้อม ภายใน - ภายนอกที่ ส่งผลต่อกิจกรรม

8 เกิดความชัดเจน ในประเด็น ที่เกี่ยวข้อง เชื่อมโยงเหตุ ปัจจัย ต่างๆ เข้าด้วยกัน รู้สึกเป็นเจ้าของร่วม / ผูกพัน ทีมงาน เพิ่มการพัฒนาทีมงาน / นวัตกรรม รักษาเป้าหมาย และ วัตถุประสงค์ ประโยชน์จากการทำ AAR AAR: After action review

9 ตัวอย่าง AAR: After action review