ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
PDCA คืออะไร P D C A.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด2 9 คำถาม.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเพิ่มผลผลิต Productivity
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
หลักการแก้ปัญหา
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ADDIE Model.
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2550 Module 2 ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Basic Issues)

Module 2 Module 2 ประเด็นสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Basic Issues) 2.1 – 2.10 ประด็นหลักที่สงสัย 10 ประเด็น(พร้อมชี้แจงคำตอบ)

ส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจทำไปเพื่ออะไร ? คำถามที่ 1 ส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจทำไปเพื่ออะไร ? เป็นประโยชน์ในการให้ความรู้ถึงองค์ประกอบของการจัดการที่ดี ให้เข้าใจการนำมาใช้ในการประเมินสถานะองค์กรแบบองค์รวม เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปรับปรุงต่อไป โดยทำให้ระบบประเมินมีความครอบคลุมและไปในทางเดียวกันทั้งระบบราชการและเป็นสากล

ยังไม่เข้าใจคำถามและศัพท์ภาษาเข้าใจยาก ? คำถามที่ 2 ยังไม่เข้าใจคำถามและศัพท์ภาษาเข้าใจยาก ? เป็นศัพท์ภาษาด้านการบริหารจัดการ อาจไม่คุ้นเคยบ้างในครั้งแรก หากทำความเข้าใจและนำไปใช้ในการประเมิน วางแผน ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องก็จะเข้าใจมากขึ้น เป็นปกติธรรมดาของการศึกษาสิ่งใหม่ หากผู้ที่พอเข้าใจแล้ว ควรร่วมกันอธิบายด้วยศัพท์ที่องค์กรคุ้นเคยจะเป็นประโยชน์มาก

รวบรวมข้อมูลสารสนเทศได้ไม่ครบ มั่วเลยดีกว่า ? คำถามที่ 3 รวบรวมข้อมูลสารสนเทศได้ไม่ครบ มั่วเลยดีกว่า ? ปกติแล้วข้อมูลเป็นสิ่งที่องค์กรมีการปฏิบัติมาก่อนแล้วทั้งสิ้น หากมีการตั้งคณะทำงานที่หลากหลายครอบคลุมทุกส่วนงานก็จะสามารถรวบรวมข้อมูลได้ดีและครบถ้วนมากกว่าเดิม

ผู้บริหารให้ความสำคัญน้อย ทำแค่ผ่านพอแล้ว ? คำถามที่ 4 ผู้บริหารให้ความสำคัญน้อย ทำแค่ผ่านพอแล้ว ? เป็นนโยบายของแต่ละหน่วยงาน แต่รายงานเหล่านี้จะมีการรวบรวมโดย กพร. สามารถใช้เปรียบเทียบความตั้งใจในการประเมินและปรับปรุงงานกันทุกกรมและทำต่อเนื่องทุกปี ถือเป็นผลงานที่แสดงความใส่ใจของผู้บริหารโดยตรง จึงควรชี้แจงให้ความสำคัญ

เป็นเกณฑ์ของภาคเอกชนมากไปไม่เหมาะกับราชการ ? คำถามที่ 5 เป็นเกณฑ์ของภาคเอกชนมากไปไม่เหมาะกับราชการ ? เกณฑ์เป็นการประเมินองค์ประกอบในการบริหารจัดการ ซึ่งองค์กรทั้งรัฐและเอกชน ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ จะมีองค์ประกอบเช่นเดียวกัน ต่างกันที่เป้าหมายของการดำเนินงานและความซับซ้อนของขนาดองค์กรเท่านั้น ทั้งนี้ ได้มีการพิจารณาใช้ศัพท์และประเด็นส่วนใหญ่อยู่ในบริบทของภาครัฐแล้ว มีส่วนน้อยยังจำเป็นต้องใช้ภาษาของภาคเอกชนอยู่บ้างเพราะภาครัฐไม่มีคำเฉพาะให้ใช้

ทำแล้วคุ้มค่างบประมาณหรือไม่ ? คำถามที่ 6 ทำแล้วคุ้มค่างบประมาณหรือไม่ ? ความคุ้มค่าขึ้นกับความตั้งใจในการปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆและนำไปใช้ปรับปรุงหน่วยงาน และเป็นโอกาสที่มีกระบวนการดึงการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่อย่างกว้างขวาง และผู้บริหารควรเห็นประโยชน์ในการศึกษาจุดแข็งจุดอ่อนขององค์กรอย่างเป็นระบบ เป็นการบูรณาการงานของบุคลากรทุกหน่วยให้เข้าใจภาพรวมองค์กรตรงกัน กระตู้นให้เกิดการปรับกระบวนการทำงานให้ทุกประเด็นหลัก อย่างนี้จึงคุ้มค่า

เวลาอบรมน้อยไปหรือเปล่า ? คำถามที่ 7 เวลาอบรมน้อยไปหรือเปล่า ? งบประมาณของ กพร. มีจำกัด การอบรมจึงทำได้ไม่มาก จึงควรจัดบุคลากรที่มีความสามารถทำความเข้าใจกับบทเรียนและมีทักษะการถ่ายทอดได้ดีเข้ามารับการอบรม นอกจากนี้จะมีการสนับสนุน เอกสาร สื่อการสอนและการศีกษาแบบ e-learning รวมทั้งการจัดคลีนิคสัญจร ช่วยในการเรียนรู้เพิ่มเติมด้วย

งานประจำก็ยุ่งมากอยู่แล้ว เครียด ลาออกดีกว่า ? คำถามที่ 8 งานประจำก็ยุ่งมากอยู่แล้ว เครียด ลาออกดีกว่า ? ใจเย็นๆ การทำงานปกติมีความยุ่งยาก จึงต้องมีความพยายามแก้ไขให้ราบรื่นขึ้น ต้องมีระบบงานที่ดีกว่าเดิม ซึ่งระบบจะเกิดขึ้นเองไม่ได้ จำเป็นต้องมีกระบวนการดำเนินงานที่ต้องใช้เวลาปกติมาช่วยกันพัฒนา อาจยุ่งมากขึ้นบ้างแต่หากไม่ปรับแก้จะยุ่งมากกว่าเดิม

ตกลงนี่คือมาตรฐานใหม่หรือเปล่า ? คำถามที่ 9 ตกลงนี่คือมาตรฐานใหม่หรือเปล่า ? เกณฑ์ PMQA เป็นเกณฑ์ประเมินผลการทำงาน ไม่ใช่มาตรฐานแต่อย่างใด (เป็นได้เพียงข้อสอบมาตรฐานเท่านั้น) แตกต่างจากระบบมาตรฐาน ISO, PSO, HA ที่มีข้อกำหนดที่ต้องทำ แต่เกณฑ์นี้มีแต่การระบุประเด็นของผลลัพท์ที่ต้องตรวจประเมินเท่านั้น

ขาดงบ คนร่วมน้อย นายไม่สน ทำไปเสียเวลาเปล่า? คำถามที่ 10 ขาดงบ คนร่วมน้อย นายไม่สน ทำไปเสียเวลาเปล่า? เป็นนโยบายกำกับติดตามปรับปรุงระบบราชการ ทุกหน่วยงานต้องปฏิบัติอยู่แล้ว เชื่อว่ามีบุคลากรที่เห็นดีด้วยมีอยู่ไม่น้อย จึงควรรวบรวมคณะทำงานที่สนใจร่วมกันทำและนำเสนอสู่การปรับปรุงต่อไป

ข้อ 1 เป้าหมายการทำ PMQA ขององค์กร Workshop 1 ตอบคำถาม 5 ข้อ ข้อ 1 เป้าหมายการทำ PMQA ขององค์กร ข้อ 2 ปัญหาและอุปสรรค ข้อ 3 สาเหตุ ข้อ 4 แนวทางแก้ไข ข้อ 5 ประเด็นคำถามสำคัญ หมายเหตุ : กรณีที่เป็นหน่วยงานใหม่ ให้ตอบแบบคาดการณ์ว่าจะเป็นอย่างไรได้