การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การเขียนผลงานวิชาการ
ทักษะการคิดขั้นสูงของบลูม (Bloom’s Taxonomy)
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
 การสอนแบบอภิปราย.
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
วิธีการทางสุขศึกษา.
การวางแผนและการดำเนินงาน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
องค์ประกอบของการสัมมนา
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
“Backward” Unit Design?
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเขียนแผนการสอน ด้านทฤษฎี 13. นายบัญญัติ สมสุพรรณ ครูเชี่ยวชาญ
การเขียนรายงานการวิจัย
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
การวิเคราะห์เนื้อหา.
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การสร้างสื่อ e-Learning
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การเขียนโครงการ.
วิธีสอนแบบอุปนัย.
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย

วัตถุประสงค์ สามารถบอกทฤษฎีของแนวสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้ วางแผนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้ เขียน advance organizers ได้ สร้างบทเรียนที่สอนโดยวิธีสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้เต็มรูปแบบทุกขั้นตอน ประเมินสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนจากการสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้

Teaching Models Deductive Models Inductive Models Procedure Skills Models Lecture&DiscussionModels

สังเขปเนื้อหา การเกริ่นนำ แนวคิดทางทฤษฎี การวางแผนการสอนแบบบรรยาย-อภิปราย ขั้นตอนการสอน การประเมินผล

การเกริ่นนำ - การจัดลำดับโครงสร้างของบทเรียน - การเขียน advance organizers

Advance Organizers ข้อเขียนที่ใช้เริ่มบทเรียนเพื่อ preview และวางขอบข่ายเนื้อหาที่จะเรียน ขณะเดียวกันก็ช่วยวางแนวให้ทราบว่า เนื้อหาใหม่เชื่อมโยงกับสิ่งที่เรียนแล้ว

การสอนแบบบรรยาย ( Advance Organizers ) วิธีการสอนแต่ละแบบจะเหมาะกับการสอนเนื้อหาหรือทักษะแต่ละอย่างแตกต่างกัน วิธีการสอนแบบบรรยาย-อภิปรายนั้นเหมาะสำหรับการสอนเนื้อหาที่จัดระบบแล้ว(organized bodies of information) เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ concept, principles, laws, generalizationและความสัมพันธ์ของ conceptเหล่านั้น

การสอนแบบบรรยาย ( Advance Organizers ) วิธีการสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้รวมเอาข้อดีของการสอนแบบบรรยาย นั่นคือการนำเสนอความคิดอย่างกระจ่างชัด ประหยัดเวลา ประหยัดแรงงาน รวมเข้ากับการสอนแบบอภิปรายซึ่งเป็นวิธีการสอนที่เน้นการมีปฎิสัมพันธ์ของผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนได้สร้างความเข้าใจด้วยตนเอง

2. แนวคิดทฤษฎี Schema theory Meaningful verbal learning Active learner involvement

Schema theory Schema คือข้อมูลที่ผู้เรียนสะสมไว้ในหน่วยความจำในสมอง ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายในการจัดการ การเชื่อมโยง ความคิด (ideas) ความสัมพันธ์ ( relationships)และ วิธีการ (procedures)

Meaningful Verbal Learning เน้นการเรียนรู้แนวคิดที่เกิดจากการเชื่อมโยงข้อมูลใหม่กับแนวคิดอื่นๆ (ไม่เพียงแต่พยายามเชื่อมโยงแนวคิดที่เกิดขึ้นใหม่กับแนวคิดอื่นๆ แต่จะพยายามเชื่อมโยงกับแนวคิดเก่าที่มีอยู่แล้วในสมอง)

Active Learner Involvement การร่วมอภิปรายอย่างกระตือรือร้น ทำให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดระดับสูง เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียน ทำให้จำสิ่งที่เรียนได้แม่นยำขึ้น เพิ่มแรงจูงใจในการเรียน

Active Learner Involvement สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง มองเห็นผลที่ตามมา บอกผลลัพธ์ที่ตรงกันข้าม สรุปความรู้ด้วยตนเอง สามารถให้ตัวอย่างของเรื่องที่ศึกษาได้ จำความรู้และสามารถบอกได้แม้จะแฝงอยู่ในเรื่อง/บริบทอื่น มองเห็นความสัมพันธ์ของความรู้ใหม่กับความรู้เดิม

การวางแผนการสอน ระบุเป้าหมายชัดเจน ตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียน วางโครงสร้างเนื้อหา เตรียม advance organizers

4. ขั้นการสอน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นการนำเสนอ ขั้นการตรวจสอบความเข้าใจ ขั้นบูรณาการ ขั้นการทบทวนและสรุป

4.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน การมุ่งสู่จุดสนใจ - ให้ข้อมูลที่แตกต่าง - ทำให้เป็นเรื่องของผู้เรียนเอง - ให้ตัวอย่าง - สาธิตแสดง บอกวัตถุประสงค์ การเกริ่นนำ

2. ขั้นการนำเสนอ ใช้ advance organizers/ โครงสร้างเนื้อหาเป็น จุดอ้างอิง สอนตามที่วางแผน เชื่อมโยงเรื่องที่เรียนกับเรื่องที่รู้แล้ว ถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ

2. ขั้นการนำเสนอ ถามคำถามที่ท้ายทายความคิด ความรู้ทั่วไป/ นิยาม/ วิธีการทำงาน/ ผลลัพธ์ เร้าให้คาดเดาสิ่งที่จะเกิดขึ้น ไม่ให้คำตอบทันทีและยอมรับฟังข้อเสนอของทุกคน ใช้คำถามที่จะนำเข้าสู่เรื่องที่จะสอน

2. ขั้นการนำเสนอ ช่วยเหลือผู้เรียนให้ติดตามการเรียนได้โดย ทำเอกสารหัวข้อย่อยเพื่อให้ตามเรื่องได้ง่าย หัวข้อย่อยควรสรุปสาระสำคัญของเรื่อง เว้นช่องว่างให้ผู้เรียนเติมความ

2. ขั้นการนำเสนอ การกระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมอภิปราย Think-pair-share Brain storming Buzz session Circular response

การตรวจสอบความเข้าใจ ถามคำถามเป็นระยะ - วางแผนในการถามโดยถามอย่างน้อยหนึ่งคำถามใน หนึ่งวัตถุประสงค์การเรียน - ถามคำถามปลายเปิดเพื่อเร้าการอภิปราย/ความคิดขั้นสูง - ถามตรงประเด็น ให้ผู้เรียนสรุปเรื่องที่เรียนด้วยตนเอง

การบูรณาการ การเชื่อมโยงข้อมูลใหม่กับความรู้เดิม เชื่อมโยงส่วนต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ ความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน

ขั้นทบทวนและสรุป สรุปหัวข้อสำคัญ บอกประเด็นหลัก บอกความเชื่อมโยง

ขั้นการประเมินผล วัดความเข้าใจของแต่ละหัวข้อที่สอน วัดความเข้าใจความสัมพันธ์ ของแต่ละ หัวข้อที่สอน