กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
แผนที่ยุทธศาสตร์น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ แผนที่ยุทธศาสตร์น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ ภายในปี พ.ศ. 2555 (ระยะ 3 ปี) โครงการของชุมชน ผลักดันให้งานเฝ้าระวังและพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภคในแผนชุมชน -แสวงหาและประสานแหล่งทุน -จัดตั้งกลุ่มประชาสังคม *กลุ่มผู้ใช้น้ำ *กลุ่มอนุรักษ์น้ำ -จัดตั้งและดำเนินการศูนย์การเรียนรู้และสาธิตเรื่องน้ำบริโภค มีมาตรการทางสังคมสำหรับชุมชน -ส่งเสริมและสนับสนุนให้ ปชช. พิทักษ์สิทธิในการเลือกซื้อ น้ำบริโภคให้มาตรฐาน -เปิดช่องทางรับการแจ้งเหตุเมื่อพบปัญหาด้านคุณภาพน้ำตั้งแต่ท้องถิ่น -จัดตั้งคณะกรรมการน้ำระดับ อปท. และ ปชช. ให้มีส่วนร่วมในกระบวนการ มีระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคในชุมชน จัดตั้งเครือข่ายและพัฒนาแกนน้ำ *ให้ความรู้การตรวจสอบคุณภาพน้ำ -พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม -จัดทำระบบข้อมูลเฝ้าระวัง ระดับประชาชน (Valuation) อปท.เข้มแข็ง -สนับสนุนงบประมาณ -พัฒนาแกนนำ -พัฒนาระบบเฝ้าระวัง *ตรวจสอบผู้ประกอบการ *ตรวจสอบคุณภาพน้ำ *ติดตามประเมินผล *จัดทำข้อมูลสถานการณ์ *จัดทำระบบรายงาน -พัฒนาอปท.ต้นแบบด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค กลุมผู้ผลิตน้ำประปาที่มีคุณภาพ -ผลักดันให้มีการควบคุมน้ำประปาที่ผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน -พัฒนาระบบควบคุมการผลิต -จัดตั้งคณะกรรมการบริหารประปาหมู่บ้าน/ท้องถิ่น ภาคราชการ -สนับสนุนวิชาการ -สนับสนุนงบประมาณ -วิจัยพัฒนา สมัชชาสุขภาพ -จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย แหล่งทุน (สสส.สปสช.WHO UN) -สนับสนุนงบประมาณและทุนพัฒนาบุคลากร -สนับสนุนวิชาการ -สนับสนุนสื่อ -สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ ที่ปรึกษา -สนับสนุนฐานข้อมูลวิจัย -สนับสนุนแหล่งศึกษา ดูงาน (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ -จัดทำทำเนียบเครือข่าย -จัดให้มีช่องทาง *ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน web board ตู้ปณ. กล่องรับความคิดเห็น Hotline -ประชาสัมพันธ์ * ประกาศรับรองประปาดื่มได้ *รณรงค์ สร้างกระแสเรื่องน้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย (ประกวด ให้รางวัล air war/ground war) *จัดมหกรรมน้ำบริโภค สัมมนา ตลาดนัดบริโภค *แจ้งเหตุเตือนภัย (fact sheet ข่าวด่วน) มีนโยบายที่ชัดเจนและต่อเนื่อง -ปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้องในระดับนโยบาย -จัดทำ MOU กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -การถ่ายทอดนโยบาย -ผลักดันผ่านระบบตรวจราชการกระทรวง มีระบบการเฝ้าระวังน้ำบริโภค -จัดเก็บข้อมูล -ศึกษาสถานการณ์ -เทคโนโลยีการเฝ้าระวัง -ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ -มีระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคและผลกระทบต่อสุขภาพ มีระบบการสนับสนุน -พัฒนาห้องปฏิบัติการของศูนย์อนามัย -จัดทำและรับรองมาตรฐาน -จัดทำข้อเสนอแนะทางวิชาการเพื่อยกร่างข้อกำหนดท้องถิ่น -จัดทำทำเนียบแหล่งทุน -สนับสนุนวิชาการ *วิทยากร *ที่ปรึกษา มีระบบติดตามและประเมินผล -ควบคุมคุณภาพ -นิเทศ/ติดตามงาน มีองค์ความรู้+เทคโนโลยีด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค -ส่งเสริมการศึกษาวิจัยและพัฒนา -การจัดการความรู้ -ฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ระดับกระบวนการ (Management) ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง -ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม -สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ส่งเสริมระบบการทำงานตามพระราชกฤษฎีกา,การบริหารจัดการที่ดี -ส่งเสริมความเป็นผู้นำ มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -KM -สร้างแรงจูงใจ มีระบบข้อมูลที่ทันสมัย -GIS ของน้ำบริโภคที่ได้มาตรฐาน -พัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน -จัดทำฐานข้อมูลออนไลด์ 2
แผนที่ยุทธศาสตร์น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ แผนที่ยุทธศาสตร์น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ ภายในปี พ.ศ. 2555 (ระยะ 3 ปี) โครงการของชุมชน ผลักดันให้งานเฝ้าระวังและพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภคในแผนชุมชน -แสวงหาและประสานแหล่งทุน -จัดตั้งกลุ่มประชาสังคม *กลุ่มผู้ใช้น้ำ *กลุ่มอนุรักษ์น้ำ -จัดตั้งและดำเนินการศูนย์การเรียนรู้และสาธิตเรื่องน้ำบริโภค มีมาตรการทางสังคมสำหรับชุมชน -ส่งเสริมและสนับสนุนให้ ปชช. พิทักษ์สิทธิในการเลือกซื้อ น้ำบริโภคให้มาตรฐาน -เปิดช่องทางรับการแจ้งเหตุเมื่อพบปัญหาด้านคุณภาพน้ำตั้งแต่ท้องถิ่น -จัดตั้งคณะกรรมการน้ำระดับ อปท. และ ปชช. ให้มีส่วนร่วมในกระบวนการ มีระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคในชุมชน จัดตั้งเครือข่ายและพัฒนาแกนน้ำ *ให้ความรู้การตรวจสอบคุณภาพน้ำ -พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม -จัดทำระบบข้อมูลเฝ้าระวัง ระดับประชาชน (Valuation) อปท.เข้มแข็ง -สนับสนุนงบประมาณ -พัฒนาแกนนำ -พัฒนาระบบเฝ้าระวัง *ตรวจสอบผู้ประกอบการ *ตรวจสอบคุณภาพน้ำ *ติดตามประเมินผล *จัดทำข้อมูลสถานการณ์ *จัดทำระบบรายงาน -พัฒนาอปท.ต้นแบบด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค กลุมผู้ผลิตน้ำประปาที่มีคุณภาพ -ผลักดันให้มีการควบคุมน้ำประปาที่ผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน -พัฒนาระบบควบคุมการผลิต -จัดตั้งคณะกรรมการบริหารประปาหมู่บ้าน/ท้องถิ่น ภาคราชการ -สนับสนุนวิชาการ -สนับสนุนงบประมาณ -วิจัยพัฒนา สมัชชาสุขภาพ -จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย แหล่งทุน (สสส.สปสช.WHO UN) -สนับสนุนงบประมาณและทุนพัฒนาบุคลากร -สนับสนุนวิชาการ -สนับสนุนสื่อ -สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ ที่ปรึกษา -สนับสนุนฐานข้อมูลวิจัย -สนับสนุนแหล่งศึกษา ดูงาน (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ -จัดทำทำเนียบเครือข่าย -จัดให้มีช่องทาง *ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน web board ตู้ปณ. กล่องรับความคิดเห็น Hotline -ประชาสัมพันธ์ * ประกาศรับรองประปาดื่มได้ *รณรงค์ สร้างกระแสเรื่องน้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย (ประกวด ให้รางวัล air war/ground war) *จัดมหกรรมน้ำบริโภค สัมมนา ตลาดนัดบริโภค *แจ้งเหตุเตือนภัย (fact sheet ข่าวด่วน) มีนโยบายที่ชัดเจนและต่อเนื่อง -ปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้องในระดับนโยบาย -จัดทำ MOU กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -การถ่ายทอดนโยบาย -ผลักดันผ่านระบบตรวจราชการกระทรวง มีระบบการเฝ้าระวังน้ำบริโภค -จัดเก็บข้อมูล -ศึกษาสถานการณ์ -เทคโนโลยีการเฝ้าระวัง -ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ -มีระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคและผลกระทบต่อสุขภาพ มีระบบการสนับสนุน -พัฒนาห้องปฏิบัติการของศูนย์อนามัย -จัดทำและรับรองมาตรฐาน -จัดทำข้อเสนอแนะทางวิชาการเพื่อยกร่างข้อกำหนดท้องถิ่น -จัดทำทำเนียบแหล่งทุน -สนับสนุนวิชาการ *วิทยากร *ที่ปรึกษา มีระบบติดตามและประเมินผล -ควบคุมคุณภาพ -นิเทศ/ติดตามงาน มีองค์ความรู้+เทคโนโลยีด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค -ส่งเสริมการศึกษาวิจัยและพัฒนา -การจัดการความรู้ -ฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ระดับกระบวนการ (Management) ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง -ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม -สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ส่งเสริมระบบการทำงานตามพระราชกฤษฎีกา,การบริหารจัดการที่ดี -ส่งเสริมความเป็นผู้นำ มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -KM -สร้างแรงจูงใจ มีระบบข้อมูลที่ทันสมัย -GIS ของน้ำบริโภคที่ได้มาตรฐาน -พัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน -จัดทำฐานข้อมูลออนไลด์ 3
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) ผู้บริหาร ประชาชนเข้าถึงบริการและพึ่งตนเองได้ในเรื่องน้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ โครงการของชุมชน ระดับประชาชน (Valuation) ระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค (Stakeholder) ระดับภาคี ภาคราชการ กลุ่มผู้ผลิตน้ำประปาที่มีคุณภาพ อปท.เข้มแข็ง มีระบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค มีระบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการสนับสนุน ระดับกระบวนการ (Management) มีองค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านการพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค มีนโยบายที่ชัดเจนและต่อเนื่อง มีระบบติดตามและประเมินผล มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) มีระบบข้อมูลที่ทันสมัย เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง 4
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) ผู้จัดการ ประชาชนเข้าถึงบริการและพึ่งตนเองได้ในเรื่องน้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ โครงการของชุมชน -ผลักดันให้งานเฝ้าระวังและพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภคในแผนชุมชน ระดับประชาชน (Valuation) เฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค -จัดตั้งเครือข่ายและพัฒนาแกนนำ กลุ่มผู้ผลิตน้ำประปาที่มีคุณภาพ - ผลักดันให้มีการควบคุมน้ำประปาที่ผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (Stakeholder) ระดับภาคี อปท.เข้มแข็ง -พัฒนา อปท.ต้นแบบด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ภาคราชการ -สนับสนุนวิชาการ มีระบบเฝ้าระวังน้ำบริโภค -มีระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคและผลกระทบต่อสุขภาพ มีระบบการสนับสนุน -จัดทำข้อเสนอแนะทางวิชาการเพื่อยกร่างข้อกำหนดท้องถิ่น มีระบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ - รณรงค์สร้างกระแส เรื่องน้ำบริโภค สะอาด ปลอดภัย ระดับกระบวนการ (Management) มีองค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค -ส่งเสริมการศึกษาวิจัยและพัฒนา มีนโยบายที่ชัดเจนและต่อเนื่อง -จัดทำ MOU กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีระบบติดตามและประเมินผล -นิเทศ/ติดตามงาน มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค -พัฒนาศักยภาพด้านบุคลากร มีระบบข้อมูลที่ทันสมัย -พัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูลการดำเนินงาน ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง -สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5