ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ภาษี ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 1 1.
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
การดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์ฐานข้อมูลพลังงานประเทศไทย
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
อากาศส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
องค์กรร่วมลดโลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร
ทรัพยากรธรรมชาติ- พลังงาน
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
Combined Cycle Power Plant
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
แผนผัง พลังงานเชิงพาณิชย์ ปี 2550
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ก๊าซธรรมชาติ 1 1.
วิธีการเก็บข้อมูล เพื่อกรอกลงในแบบฟอร์มการจัดทำบัญชีรายการ
การใช้พลังงานกับสิ่งแวดล้อม
ความหมายของสิทธิบัตร
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
ข้อเสนอ (ตามเอกสารของ กลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้า สภาอุตสาหกรรม)
ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ศุภกิจ นันทะวรการ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ 22 มีนาคม 2553
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ปิโตรเลียม.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน วิเชียร ตันติวิศาล 9 มิถุนายน 2555

ก๊าซเรือนกระจก Greenhouse Gas (GHG) การเกิดก๊าซเรือนกระจก การคำนวณก๊าซเรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ก๊าซเรือนกระจกจากการรั่วไหล ก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานของประเทศไทย มาตรการพลังงานช่วยลดก๊าซเรือนกระจก

ลักษณะของก๊าซเรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas, GHG) เป็นก๊าซที่มีความสามารถในการกักเก็บความร้อน ถ้ามีปริมาณเหมาะสมทำให้โลกอุ่น มีน้อยทำให้โลกเย็น (-18 ๐C) แต่ถ้ามีมากเกินไปเกิดการสะสมความร้อนทำให้เกิดภาวะโลกร้อน ก๊าซที่ก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกที่สำคัญ ได้แก่ CO2, CH4, N2O และ CFC (Freon CCl3F) CFC ก๊าซที่ไม่มีตามธรรมชาติ และเป็นตัวทำลายโอโซน O3 ในชั้นบรรยากาศ Stratospheres ซึ่งช่วยกรอง UV ทำให้โลกร้อนขึ้น สำหรับพลังงาน CO2, CH4และ N2O

คลอรีนเกิดปฎิกิริยากับโอโซนเป็น Chlorine Monoxide กับ O2 ชั้นบรรยากาศของโลก คลอรีนเกิดปฎิกิริยากับโอโซนเป็น Chlorine Monoxide กับ O2

ความร้อนสะสมของโลกที่เกิดขึ้นจาก GHG

การคำนวณก๊าซเรือนกระจก IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change) “2006 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories” Volume 2 เกี่ยวกับส่วนของพลังงาน Combustion หรือการเผาไหม้ การใช้พลังงานเป็นเชื้อเพลิง Stationary and Mobile Fugitive การรั่วไหลของ GHG จากพลังงาน

Methodological Approaches ระเบียบวิธีปฏิบัติการคำนวณ GHG ตามคำแนะนำของ IPCC สมการการคำนวณ ∑EJiFi พลังงาน (Joules) ชนิด i * ค่ามลพิษของพลังงาน I 1 Tera Joules = 23.672 toe มี 3 แบบหรือ 3 ลักษณะโครงสร้าง (Tiers) TIER I ค่ามลพิษของ IPCC TIER II ค่ามลพิษของประเทศไทยเอง TIER III การเก็บรวบรวมมลพิษที่เกิดขึ้นจริง

Emission Factor (CO2) IPCC 2006 ชนิดเชื้อเพลิง ค่ามลพิษ (kg/TJ) น้ำมันดิบ 73,300 น้ำมันเบนซิน 69,300 น้ำมันดีเซล 74,100 น้ำมันเตา 77,400 LPG 63,100 ถ่านหิน 96,100 ลิกไนต์ 101,000 ก๊าซธรรมชาติ 59,100 หมายเหตุ: วิธีการคำนวณ CO2 ของ IPCC เกิดจาก Carbon Contain (ปริมาณคาร์บอนต่อหน่วยพลังงานที่มีอยู่ในเชื้อเพลิงชนิดนั้นๆ และเกิดการเผาไหม้หมด 100% จะเกิดปฏิกิริยา Oxidation และกลายเป็น CO2 สูตรคือ Carbon Contain *44/12 ถ้าเผาไหม้ที่ 95 หรือการเผาค่าที่จะเป็น *0.95 หรือ *1.05

GHG จากการใช้พลังงาน ก๊าซพิษที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ GHG ที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ได้แก่ CO2, CH4 และ N2O นอกจากนี้ยังมีก๊าซพิษอื่นๆ ได้แก่ CO, NOx และ SO2 ประเภทของผู้ใช้พลังงานและชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้ ผู้ใช้ได้แก่ โรงไฟฟ้า ภาคอุตสาหกรรมการผลิต (รวมการแปรรูปพลังงานอื่นที่ไม่ใช่ไฟฟ้า เช่น การกลั่นน้ำมัน) การขนส่ง และอื่นๆ ชนิดของพลังงานที่นำมาคำนวณ คือ พวกเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดต่างๆ ได้แก่ น้ำมันชนิดต่างๆ (เช่น น้ำมันเบนซิน น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา และ LPG) ถ่านหิน ลิกไนต์ และก๊าซธรรมชาติ

ข้อยกเว้นการไม่นำมาคำนวณและคำนวณแยกต่างหาก เชื้อเพลิงที่ไม่ก่อให้เกิด GHG ได้แก่ นิวเคลียร์ พลังงานหมุนเวียนที่ไม่เกิดการเผาไหม้ เช่น พลังน้ำ แสงอาทิตย์ ลม และอื่นๆ พลังงานหมุนเวียนที่มีการเผาไหม้ เช่น เชื้อเพลิงชีวภาพ ชีวมวล และก๊าซชีวภาพ จะคำนวณแยก หรือไม่นำมารวมกับฟอสซิล กันการนับซ้ำ เพื่อนำไปสมดุลกับการสังเคราะห์แสงและอื่นๆ การใช้พลังงานสำหรับต่างประเทศ เช่น เครื่องบิน และเรือเดินสมุทร

GHG จากการรั่วไหล (Fugitive Emissions) เกิดจากการทำเหมือง การขุดเจาะก๊าซธรรมชาติ หรือน้ำมัน เกิดจากการสำรวจ การขนส่ง และรั่วไหล จากการแปรรูป การกลั่น การแยกต่างๆ แยกตามชนิดพลังงานที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ การทำเหมืองลิกไนต์ เกิด CH4 และ CO2 ก๊าซธรรมชาติ เกิด CH4, CO2 และ N2O น้ำมันเชื้อเพลิง เกิด CH4, CO2 และ N2O คาดการณ์ว่าในส่วนการรั่วไหล GHG จากพลังงาน ส่วนใหญ่จะเป็น CH4 ซึ่งมีผลต่อความร้อนมากกว่า CO2 ประมาณ 23 เท่า

การคำนวณ Fugitive ตาม IPCC 2006 การทำเหมืองลิกไนต์ และถ่านหิน - CH4 emission = Surface mining emissions of CH4 + Post-mining emission of CH4 Methane Emissions = CH4 Emission Factor x Surface Coal Production x Conversion Factor การจัดหาก๊าซธรรมชาติและน้ำมัน ขั้นตอนที่เกิดการรั่วไหล การสำรวจ การผลิต การแยก (ก๊าซธรรมชาติ) การกลั่น (น้ำมัน) การขนส่งและการกระจาย (Transport and Distribution) Methane Emissions = CH4 Emission Factor x Surface Coal Production x Conversion Factor Carbon dioxide Emissions = CO2 Emission Factor x Surface Coal Production x Conversion Factor Nitrous Oxide Emissions = N2O Emission Factor x Surface Coal

สรุป มลพิษจากพลังงาน มลพิษจากการใช้พลังงาน มลพิษจากพลังงานอื่น (Combustion) มลพิษจากพลังงานอื่น จากการหลุดรอดหรือรั่วไหล จากการจัดหาจัดการพลังงาน (Fugitive) I การเผาไหม้แบบ Stationary ถ่านหิน/ลิกไนต์ การทำเหมือง หลังการทำเหมือง การเก็บรักษาถ่านหิน/ลิกไนต์ ขนส่ง และอื่นๆ NG และน้ำมัน การสำรวจ การขุดเจาะ การผลิต การส่งทางท่อ การแยก/กลั่น การ Upgrade การขนส่งสู้สถานีบริการ II การเผาไหม้แบบ Mobile รวม มลพิษจากการใช้ + มลพิษหลุดรอด = มลพิษจากพลังงาน

การเกิด GHG ของประเทศไทยจากการใช้พลังงาน

มาตรการที่ช่วยลด GHG การใช้พลังงานหมุ่นเวียนต่างๆ ที่ไม่ก่อให้เกิด GHG การใช้พลังงานหมุนเวียนต่างๆ ที่ลดการใช้ฟอสซิล เช่น Ethanol, Bio-diesel, Biomass, Biofuel การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน ด้านอุปทาน เช่น การใช้การผลิตไฟฟ้า Co-gen ตัวอย่าง โรงงานปูนซีเมนต์ใช้ Heat Recovery ด้านอุปสงค์ ลดการใช้พลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ

ขอบคุณ