การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
Advertisements

ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ซักซ้อม SRRT แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนเตรียมพร้อมรับมือการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ สำนักระบาดวิทยา.
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura Infectious Diseases Institute นางอินทิรา ทันตวิวัฒนานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข ศูนย์ข้อมูลและระบาดวิทยา สถาบันบำราศนราดูร

ความเป็นมา ความสำคัญของปัญหา (1) ไข้หวัดใหญ่เป็นโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเกิดขึ้นเป็นประจำทั่วโลก ตามฤดูกาล (Seasonal Influenza) ในช่วงหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมา มีการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic Influenza) ที่สำคัญ จำนวน 3 ครั้ง คือ ไข้หวัดใหญ่สเปน (Spanish flu) Influ A H1N1 มีผู้เสียชีวิตประมาณ 20-40 ล้านคน  ไข้หวัดใหญ่เอเชีย (Asian flu) Influ A H2N2 มีผู้เสียชีวิตประมาณ 1-2 ล้านคน  ไข้หวัดใหญ่ฮ่องกง (Hong Kong flu) Influ A H3N2 มีผู้เสียชีวิตประมาณ 1 ล้านคน

ความสำคัญของปัญหา (2) ประเทศไทย ความเป็นมา  ในปีพ.ศ. 2546 เกิดการระบาดของโรคไข้หวัดนก Influ A H5N1 ซึ่งเกิดจากเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ที่ติดต่อในสัตว์ปีกซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงลักษณะการถ่ายทอดเชื้อจากสัตว์ปีกมาสู่คนได้  วันที่ 25 เม.ย.52  องค์การอนามัยโลกประกาศออกเตือนประเทศสมาชิกให้สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (New Influ A H1N1) เป็นภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) สามารถติดต่อส่งผ่านระหว่างมนุษย์สู่มนุษย์ผ่านทางการหายใจได้โดยตรง  โรคไข้หวัดนก (Influ A H5N1) และไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (Influ A H1N1) ถือเป็นโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขในปัจจุบัน

ความเกี่ยวข้องกับหน่วยงาน (1) ความเป็นมา ความเกี่ยวข้องกับหน่วยงาน (1)  กระทรวงสาธารณสุข เป็นแกนหลักในการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทุกภาคส่วนเพื่อเตรียมพร้อมและรับมือกับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ตามแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติและแผนปฏิบัติการแม่บทการเตรียมความพร้อมสำหรับการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่  กรมควบคุมโรค เป็นหน่วยงานหลักในการประสานและผลักดันให้เกิดการเตรียมความพร้อม โดยมีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดริเริ่มได้เตรียมการประคองกิจการสำหรับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ และเป็นหน่วยงานต้นแบบ เพื่อจะได้มีการเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นๆ ได้ดำเนินการเตรียมการประคองกิจการต่อไป  สถาบันบำราศนราดูร สังกัดกรมควบคุมโรค เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยโรคติดต่อต่างๆรวมทั้งการป้องกันและควบคุมโรค ทางสถาบันได้จัดระบบการเฝ้าระวังผู้ป่วยตามมาตรฐานการควบคุมโรค โดยมีผู้ป่วยกลุ่มอาการสงสัยไข้หวัดใหญ่มารับการตรวจรักษาจากสถาบันอย่างต่อเนื่อง

ความเกี่ยวข้องกับหน่วยงาน (2) ความเป็นมา ความเกี่ยวข้องกับหน่วยงาน (2) งานศูนย์ข้อมูลและระบาดวิทยา สถาบันบำราศนราดูร  เฝ้าระวัง และ รายงานทางระบาดวิทยาโรคติดต่อ  รายงานโรคตามปกติด้วย รง.506 รง. 507  รายงานโรคแบบเร่งด่วน สำหรับโรคติดต่อที่สามารถแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว (ให้รายงานทันทีที่พบผู้ป่วยยืนยันหรือผู้ป่วยต้องสงสัย)  สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (Individual Case Investigation) ตามโรคที่สำนักระบาดวิทยากำหนด

ความเกี่ยวข้องกับหน่วยงาน (3) ความเป็นมา ความเกี่ยวข้องกับหน่วยงาน (3)  การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ จัดอยู่รหัสโรคที่ 15 ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรค รง. 506  ต่อมาได้มีการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังโรค โดยมีการจัดกลุ่มโรคเร่งด่วน หรือ กลุ่มโรคและอาการที่เป็นปัญหาสำคัญ คือ ผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ในข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ได้แก่ ไข้หวัดนก, ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และ ผู้ป่วยปอดอักเสบรุนแรง/หรือเสียชีวิต โดย สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย และรายงานโรคแบบเร่งด่วนเมื่อพบผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หรือ ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case)

วัตถุประสงค์ เพื่อเฝ้าระวังและเก็บข้อมูลจำนวนผู้ป่วย ILI ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันฯและตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ เพื่อเก็บเป็นฐานข้อมูลและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ระบาดของโรคในสถาบันได้ เพื่อศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยาของของผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ต่างๆที่เข้ารับการรักษาในสถาบัน เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ตอบสนองต่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่ให้สามารถติดตามสถานการณ์ของโรคได้ทันเวลา ตาม ILI Harmonization Project ของศูนย์ไข้หวัดใหญ่แห่งชาติ

วิธีการศึกษา (1)  รูปแบบการศึกษา  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive analysis) -Demographic -Clinical characteristics ความถี่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย

วิธีการศึกษา (2)  ประชากรกลุ่มเป้าหมาย และจำนวน  ผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ปีงบประมาณ 2552-2554 เพื่อเก็บจำนวนผู้ป่วยเป็นฐานข้อมูล ILI ในโรงพยาบาล  ผู้ป่วย ILI ผล Rapid test positive และ/หรือ ผล PCR positive ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร เพื่อนำแฟ้มเวชระเบียนมาเก็บข้อมูลประกอบกับแบบสอบสวนโรค

วิธีการศึกษา (3)  สถาบันบำราศนราดูร  พื้นที่ศึกษา หรือดำเนินโครงการ  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  หน่วยคัดกรองผู้ป่วย ILI แผนกผู้ป่วยนอก สถาบันบำราศนราดูร  ตึกแยกโรค 3/2 กรณีผู้ป่วย ILI มีอาการรุนแรง/สงสัยปอดอักเสบรุนแรง, ตึกแยกโรค 3/4, ตึกผู้ป่วยเด็ก 5/3  งานภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยา สถาบันบำราศนราดูร (ตรวจแยกเชื้อไข้หวัดใหญ่ด้วยวิธี Rapid test และ PCR)  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรณี ผู้ป่วยส่งตัวอย่างตรวจ PCR กรมวิทย์  ศูนย์ไข้หวัดใหญ่แห่งชาติ กรณีติดตามผลการตรวจแยกเชื้อไวรัสในผู้ป่วย ILI ที่เข้าร่วมโครงการ

วิธีการศึกษา (4)  แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล  ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยสงสัยโรคไข้หวัดใหญ่ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลโดยใช้รหัส ICD10 ในการค้นหาผู้ป่วยดังต่อไปนี้ J00 acute nasopharyngitis (common cold) J02.9 acute pharyngitis J06.9 acute upper respiratory infection, unspecified J10 Influenza J11 Influenza, virus not identified  เก็บจำนวนผู้ป่วย ILI เป็นประจำทุก 1 เดือน เป็นข้อมูลพื้นฐานเฝ้าระวังโรค  เก็บข้อมูลผู้ป่วยผล Rapid test positive และ/หรือ ผล PCR positiveจากรายงานผลLab จากแฟ้มเวชระเบียนและแบบสอบสวนโรคผู้ป่วย ILI

วิธีการศึกษา (5)  จำนวนผู้ป่วย ILI เทียบเป็นอัตราส่วนร้อยละกับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในสถาบันทั้งหมด (เก็บราย 1 เดือน)  ผู้ป่วยนอก ยืนยันไข้หวัดใหญ่ Demographic เพศ สถานะ อายุ ภูมิลำเนา อาชีพ Clinical characteristics ประวัติเสี่ยง โรคประจำตัวเสี่ยง/ไม่เสี่ยง สายพันธุ์ไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่ตรวจพบ  ผู้ป่วยใน ยืนยันไข้หวัดใหญ่ Clinical characteristics ประวัติเสี่ยง โรคประจำตัวเสี่ยง/ไม่เสี่ยง สายพันธุ์ไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่ตรวจพบ จำนวนวันนอน ผลเอกซเรย์ปอด ผลเลือด ผลแลปอื่นๆ อาการแทรกซ้อน ฯลฯ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ  เป็นข้อมูลพื้นฐาน (baseline data) ทางด้านระบาดวิทยาในการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ในโรงพยาบาลเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันควบคุมโรคและพัฒนาองค์ความรู้ในการเฝ้าระวังให้มีประสิทธิภาพต่อไป  ข้อมูลทางระบาดวิทยาการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ของสถาบันสามารถสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ พัฒนาเครือข่ายในการรายงานโรคให้สามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ได้อย่างรวดเร็วทันเวลาและสามารถส่งเสริมการป้องกันควบคุมโรคในระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศได้

ระยะเวลาที่ศึกษา  ระยะเวลาประมาณ 1 ปี

งบประมาณและแหล่งทุน  ได้รับการสนับสนุนจาก  สถาบันบำราศนราดูร  กรมควบคุมโรค

ทีมงาน น้องเลี้ยงพี่เลี้ยงที่ปรึกษา  น้องเลี้ยง นางอินทิรา ทันตวิวัฒนานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข ศูนย์ข้อมูลและระบาดวิทยา สถาบันบำราศนราดูร  พี่เลี้ยงในหน่วยงาน นางวราภรณ์ เทียนทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พยาบาลประจำหน่วยงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถาบันบำราศนราดูร  ทีมงานสนับสนุน เจ้าหน้าที่ในศูนย์ข้อมูลและระบาดวิทยา สถาบันบำราศนราดูร