โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี 2554 - 2556) โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี 2554 - 2556) การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก

ศูนย์เด็กเล็ก เป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกัน เป็นจำนวนมากเด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำ จะป่วยได้บ่อย เมื่อเด็กเจ็บป่วย จะสามารถแพร่เชื้อและติดต่อสู่กันได้ง่าย โดยเฉพาะโรคหวัด โรคอุจจาระร่วง และโรคมือ เท้า ปาก ฯลฯ เด็กที่ป่วยบ่อย ส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวม ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้

โรคที่พบในศูนย์เด็กเล็ก โรคที่พบบ่อย - โรคมือ เท้า ปาก - โรคหวัด - โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน โรคอื่นๆ ที่พบได้ - โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น หัด คางทูม หัดเยอรมัน - โรคตาแดง - โรคอีสุกอีใส - โรคพิษสุนัขบ้า ฯลฯ

เป้าประสงค์ ลดอัตราป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร และโรคติดต่อที่สำคัญในศูนย์เด็กเล็ก ไม่เกิดการระบาดของโรคติดต่อภายในศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์เด็กเล็ก สามารถดำเนินการได้ตามข้อกำหนดและผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองเป็นศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

เป้าหมายในการดำเนินการ (ครอบคลุมศูนย์เด็กเล็กทั่วประเทศ ในปี 2556) [จำนวน 19,000 แห่ง] ศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ ปี 2554 : ร้อยละ 30 (ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์) ปี 2555 : ร้อยละ 50 (ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์) ปี 2556 : ร้อยละ 100 (ร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์) ศูนย์เด็กเล็กได้รับการประเมิน 500-600 แห่ง/สคร.

ข้อกำหนด: ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค การดำเนินงานประกอบด้วย 4 ด้าน ข้อกำหนด: ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค การดำเนินงานประกอบด้วย 4 ด้าน ประเด็นที่ 1 : ด้านการบริหารจัดการภายใน ศูนย์เด็กเล็ก ประเด็นที่ 2 : ด้านบุคลากรของศูนย์เด็กเล็ก ประเด็นที่ 3 : ด้านโครงสร้างอาคารสถานที่ ประเด็นที่ 4 : ด้านวัสดุอุปกรณ์ในการดูแล ป้องกันควบคุมโรค

ปัจจัยความสำเร็จ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค พ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้บริหาร อบต. เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ครูผู้ดูแลเด็ก ครูพี่เลี้ยง ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค สภาพแวดล้อมสะอาดปลอดภัย ความรู้ การป้องกันควบคุมโรค พฤติกรรมสุขภาพถูกต้อง คัดกรอง เฝ้าระวัง เครือข่ายเข้มแข็ง ปัจจัยความสำเร็จ

กรอบการดำเนินการปี 2554 เม.ย.-พ.ค. 54 : -จัดส่งสิ่งสนับสนุนให้ สคร./สสจ./ศูนย์เด็กฯ -สคร./สสจ. ประชุมชี้แจงศูนย์เด็กฯ ที่ร่วมโครงการ มิ.ย.–ก.ค. 54 : - สสจ/สคร. ประเมินการดำเนินงานศูนย์เด็กฯ ที่ร่วมโครงการ ม.ค.-มี.ค. 54 : -นำเสนอ/ประสานงานโครงการให้ สคร./สสจ. ทราบ/ร่วมดำเนินงาน มี.ค.–พ.ค. 54 : -รวบรวมศูนย์เด็กฯ ที่เข้าร่วมโครงการ -จัดทำสื่อสนับสนุน พ.ค.–มิ.ย. 54 : -ศูนย์เด็กฯ ดำเนินการตามข้อกำหนดละประชุมศูนย์เด็กฯ ที่ร่วมโครงการ -สคร. นิเทศติดตามการดำเนินงานศูนย์เด็กฯ ที่ร่วมโครงการ ส.ค.–ก.ย. 54 : มอบรางวัล/ใบรับรองศูนย์ฯ ปลอดโรค หมายเหตุ :รับสมัครศูนย์เด็กเล็กเข้าร่วมโครงการดำเนินจนถึงปี 2556

ศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการ : ศูนย์เด็กเล็ก - ตอบรับการเข้าร่วมโครงการ “ศูนย์เด็กเล็ก ปลอดโรค” โดยส่งใบตอบรับมายัง สสจ. และ สคร. รวบรวมส่ง สรต. - ได้รับการสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น สื่อวิชาการ การนิเทศงาน เป็นต้น ศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน : ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์ประเมินที่กรมควบคุมโรค กำหนด “ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค” คือ ได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

ศูนย์เด็กเล็กส่งแบบตอบรับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด การตอบรับ ศูนย์เด็กเล็กส่งแบบตอบรับ ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สคร.รวบรวมส่งสำนักฯ ภายในวันที่ 15 มิถุนายน 2554

ศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการ การประเมิน สคร. + สสจ. มิถุนายน - กรกฎาคม 2554 ศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการ สคร.รวบรวมส่งสำนักฯ ภายในวันที่ 5 สิงหาคม 2554

การดำเนินงานของสคร.+สสจ. (ปี 2554) 1. สคร. ทำหนังสือของบเพิ่มเติมเข้ามายังสำนักต. ภายในวันที่ 31 มค.54 เพื่อใช้ดำเนินการในพื้นที่ ดังนี้ 1.1 ประสานการดำเนินงานกับจังหวัดในเขตรับผิดชอบ 1.2 จัดประชุมชี้แจงให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 1.3 นิเทศ ติดตาม และประเมินผล 2. รวบรวม และส่งใบตอบรับเข้าร่วมโครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ภายใน 31 พ.ค. 54 3. ประเมินศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ช่วงเดือน มิ.ย. – ก.ค. 54 4. ส่งแบบแจ้งรายชื่อศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านเกณฑ์ “ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค” ภายในวันที่ 5 ส.ค. 54 5. มอบโล่ และเกียรติบัตร ประมาณปลาย 18 ส.ค. 54 6. สคร. ส่งสรุปผลการดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคมายังสำนัก ภายในวันที่ 31 ส.ค. 54

รางวัล โล่รางวัล 3 รางวัล แบ่งเป็นระดับดีเด่น ดีมาก และดี อย่างละ 1 รางวัล มอบให้ศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านเกณฑ์ โดย สคร. ในแต่ละเขตเป็นผู้คัดเลือก (ส่งมายัง สำนักฯ ภายในวันที่ 5 ส.ค.54) ประกาศนียบัตร เป็น “ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค” ให้กับศูนย์เด็กเล็กทุกแห่งที่ผ่านเกณฑ์ข้อกำหนด (ได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ) ประเมินทุก 3 ปี โดย สคร. และ สสจ. (สสอ. ในอนาคต)

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค กรมควบคุมโรค มอบประกาศนียบัตรนี้ให้ไว้เพื่อแสดงว่า ศูนย์เด็กเล็ก x...........................x ได้ผ่านการเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ให้ไว้ ณ วันที่ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุมประเมินจันทวิมล กรมควบคุมโรค นายมานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 14

15

สื่อต่างๆ ที่สนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก 16

การสนับสนุนนสื่อวิชาการ แนวทางการดำเนินงานฯ ข้อกำหนด/แบบประเมิน โปสเตอร์ มาตรการ 10 ข้อ โปสเตอร์ล้างมือ สื่อการสอน ได้แก่ หนังสือการ์ตูน CD ความรู้เรื่องโรค CD เพลงล้างมือ

19

จำนวนสื่อสนับสนุนศูนย์เด็กเล็กให้สคร. (ชุด) 10% 20% 30% 1. 54 108 162 2. 71 141 212 3. 130 260 389 4. 120 239 359 5. 197 394 591 6. 343 687 1,030 7. 292 583 875 8. 84 167 251 9. 119 238 357 10. 278 555 833 11. 107 214 321 12. 123 246 369 20

อยู่ระหว่างดำเนินการ การจัดทำ E – learning แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก ประชาสัมพันธ์และรับสมัครศูนย์เด็กเล็กทาง เว็บไซต์ http://thaigcd.ddc.moph.go.th/ ประชาสัมพันธ์โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคทางสื่อสาธารณ เช่น หนังสือพิมพ์ และโทรทัศน์

ขอบคุณ

10 มาตรการสู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ต่อ) มาตรการที่ 1 ครูผู้ดูแลเด็กทุกคนต้องได้รับการอบรม อย่างน้อยปีละ1 ครั้ง มาตรการที่ 2 มีการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ทุกภาคเรียน มาตรการที่ 3 มีการตรวจสุขภาพร่างกายและบันทึกอาการป่วยของเด็กทุกคน ทุกวัน มาตรการที่ 4 มาตรการเบื้องต้นในการป้องกันควบคุมโรค 4.1 การแยกเด็กป่วย 4.2 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 4.3 การทำความสะอาด และการทำลายเชื้ออย่างถูกต้อง 24

10 มาตรการสู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ต่อ) มาตรการที่ 5 ครูผู้ดูแลเด็กทุกคน ควรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี หรือ ตรวจ X-ray ปอด อย่างน้อย ทุก 1-2 ปี มาตรการที่ 6 ครูผู้ดูแลเด็กทุกคน มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ ถ้าเจ็บป่วย ควรหยุดอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหาย มาตรการที่ 7 ครูผู้ดูแลเด็กสอนให้ความรู้กับเด็กในเรื่องการป้องกันควบคุมโรค สัปดาห์ละครั้ง มาตรการที่ 8 ครูผู้ดูแลเด็กจัดให้มีกิจกรรมการล้างมือทุกวัน มาตรการที่ 9 ครูผู้ดูแลเด็กดูแลเด็กป่วยเบื้องต้น และส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มาตรการที่ 10 ครูผู้ดูแลเด็กจัดกิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองอย่างน้อยปีละครั้ง 25

บทบาทสำนักโรคติดต่อทั่วไป สนับสนุนการดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค 1. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สคร.) 2. จัดทำและสนับสนุนคู่มือ / แนวทางการดำเนินงานฯ 3. จัดทำข้อกำหนดและเกณฑ์ ของศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค 4. จัดทำและสนับสนุนสื่อการเรียนการสอน  หนังสือ “สามโรคร้ายใกล้ตัวเด็ก”  โปสเตอร์ (การล้างมือ / 9 มาตรการ)  CD (คุณครูอนามัย / แก๊งมือสะอาด / การป้องกันโรค) 5. จัดประชุมชี้แจงการขยายผลการดำเนินงานให้ครอบคลุมทั่วทุกจังหวัด  กลุ่มเป้าหมาย คือ เจ้าหน้าที่ของสคร. + สสจ. 6. ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน 7. จัดเวทีประกาศเกียรติคุณ/มอบรางวัลแก่ศูนย์เด็กเล็กที่ได้รับการคัดเลือกฯ

บทบาท สคร. และ สสจ. ขยายผลการดำเนินงานให้ครบทุกศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่ 1. นำรูปแบบ/แนวทางไปดำเนินงานในพื้นที่ 2. จัดประชุมร่วมกับพื้นที่ ชี้แจงการดำเนินงานให้กลุ่มเป้าหมาย 3. ขยายผลการดำเนินงานให้ครอบคลุมเป้าหมายศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่ 4. สนับสนุนวิชาการ สื่อความรู้ 5. นิเทศ/ชี้แนะการดำเนินงานแก่ศูนย์เด็กเล็ก 6. ติดตามผลการดำเนินงาน  ร่วมกับ สสจ.นิเทศ/แนะนำการดำเนินงานแก่ศูนย์เด็กเล็ก  เสนอรายชื่อศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่ “ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค” เข้ารับเกียรติบัตร  คัดเลือกศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้ารับรางวัลโล่ (สคร.ละ 1 แห่ง) 7. สรุปผลการดำเนินงานในพื้นที่รับผิดชอบ 8. สรุปผลการดำเนินงานส่งให้สำนักฯ สรุปผลในภาพรวมประเทศ

วิธีดำเนินการ/กิจกรรมหลัก 1. อบรมผู้ดูแลเด็ก 2. สนับสนุนสื่อการเรียนการสอน วัสดุอุปกรณ์ 3. นิเทศ ติดตามให้มีการดำเนินงานตาม 9 มาตรการ 4. สรุปผลการดำเนินงาน 28

ศูนย์เด็กเล็กส่งแบบตอบรับ ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 การตอบรับ >> ศูนย์เด็กเล็กส่งแบบตอบรับ ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 สคร.รวบรวมส่งสำนักฯภายในวันที่ 15 มิถุนายน 2554 การสนับสนุน >>  สื่อการเรียนการสอนสำหรับศูนย์เด็กเล็ก  งบประมาณ (สำนักโอนเงินให้แล้ว) เพื่อใช้ในการจัดประชุม นิเทศติดตาม และประเมินผล รางวัล >> เกียรติบัตรศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ประเมินทุก 3 ปี (ประเมินโดย สคร. และ สสจ.) >> โล่ (แต่ละสคร.คัดเลือกศดล. 3 แห่ง ส่งมายังสำนักภายในวันที่ 5 สค.54) 29