รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
ไข้เลือดออก.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนย์อนามัยที่ 1.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข

โรคไข้เลือดออก

ตัวชี้วัดความสำเร็จผลการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก เกณฑ์ 1. 1.1 ร้อยละของตำบล มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลำยในบ้านHouse Index น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ( HI ≤ 10) 1.2 ร้อยละของโรงเรียน และ รพช. รพศ. รพท. มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลำย Container Index เท่ากับ 0 (CI =0) ร้อยละ 80 ของตำบล มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลำยในบ้านHouse Index ( HI ≤ 10) ร้อยละ 80 ของโรงเรียน และ รพช. รพศ. รพท. มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (CI = 0) Container Index (CI = 0) 2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง อัตราป่วยลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี มากกว่าร้อยละ 20 ความครอบคลุมของกิจกรรมการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ตามมาตรฐาน ขั้นตอนการดำเนินงานตามกิจกรรมหลักของการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ครบ 5 ขั้นตอนได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 : มีผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน ขั้นตอนที่ 2 : มีการวิเคราะห์สถานการณ์โรคเรื้อนระดับอำเภอ อย่างถูกต้องตามข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อน ขั้นตอนที่ 3 : มีแผนการดำเนินงานการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ขั้นตอนที่ 4 : มีงบประมาณสนับสนุนการดำาเนินงานควบคุมโรคเรื้อน ขั้นตอนที่ 5 : การดำเนินงานตามแผนที่กำาหนดไว้อย่างน้อยร้อยละ70

การสนับสนุนขององค์การบริหารส่วนตำบล ด้านงบประมาณ เช่น ค่าแรง ค่าตอบแทนต่างๆ เป็นต้น ด้านอุปกรณ์และสารเคมี เช่น เครื่องพ่นสารเคมี ทรายกำจัดลูกน้ำ และสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย เป็นต้น ด้านบุคลากร เช่น การส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมการใช้เครื่องพ่นและสารเคมี การจัดทีมควบคุมโรค เป็นต้น ด้านมาตรการทางกฎหมาย เช่น การผลักดันการใช้ข้อบัญญัติตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ศ.2535 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535

หลักการของกฎหมาย ให้มีการคุ้มครองประชาชนด้านสุขลักษณะและการอนามัยสิ่งแวดล้อม กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีคณะกรรมการให้การสนับสนุนและติดตามกำกับดูแล ให้มีเจ้าพนักงานด้านวิชาการเป็นที่ปรึกษาและช่วยเหลือในการตรวจตราและแนะนำด้านวิชาการแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้ประชาชนมีสิทธิโต้แย้งการใช้อำนาจของเจ้าพนักงานได้

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ การสาธารณสุข/การอนามัย ครอบครัว/รักษาพยาบาล พัฒนาเด็ก/สตรี/เยาวชน ส่งเสริมกีฬา ปรับปรุงชุมชนแออัด สถานที่พักผ่อน จัดให้มีทางน้ำ /ทางบก กำจัดสิ่งปฏิกูล /มูลฝอย ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ /ฆ่าสัตว์ การอนามัยโรงมหรสพ / สาธารณสถานอื่น ๆ ตลาด/ท่าเทียบเรือ การผังเมือง การควบคุมอาคาร รักษาทางน้ำ /ทางบก จัดบริการสาธารณะ ออกกฎ / บังคับใช้ ประชาชน / เอกชน / ผู้ประกอบการ

พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 สุขภาพ ประชาชน มีเจตนารมณ์ เพื่อ สอดคล้องกับมาตรา 11 แห่งพรบ.สุขภาพ สอดคล้องกับมาตรา 5 แห่งพรบ.สุขภาพ คุ้มครอง สุขภาพ ประชาชน ป้องกัน จุลินทรีย์ ที่ก่อโรค มลพิษ สิ่งแวดล้อม

สารบัญญัติตาม พรบ.การ สธ. 2535 หมวด 3 การกำจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ

หมวด 5 เหตุรำคาญ

เหตุรำคาญ จพง. ท้องถิ่น มีอำนาจ ในสถานที่เอกชน ในที่/ทางสาธารณะ สั่งให้บุคคลที่ก่อเหตุ ระงับ/ ป้องกัน ภายใน เวลาอันสมควร สั่งให้เจ้าของ / ผู้ครอบครอง สถานที่ระงับ/ แก้ไข ภายใน เวลาอันสมควร ถ้าเป็นกรณีที่อาจ เป็นอันตรายร้ายแรง ถ้าไม่แก้ไข ถ้าไม่แก้ไขและอาจ เป็นอันตรายร้ายแรง เข้าไประงับ/ จัดการได้ โดยเจ้าของ/ ผู้ครอบครอง ถ้าเกี่ยวข้องต้องเสียค่าใช้จ่าย สั่งห้ามใช้/ ยินยอม ให้ใช้สถานที่นั้น จนกว่าแก้ไขได้ เข้าไประงับ/ จัดการได้ โดยบุคคลก่อเหตุเป็น ผู้เสียค่าใช้จ่าย

สวัสดี