รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข
โรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัดความสำเร็จผลการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก เกณฑ์ 1. 1.1 ร้อยละของตำบล มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลำยในบ้านHouse Index น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ( HI ≤ 10) 1.2 ร้อยละของโรงเรียน และ รพช. รพศ. รพท. มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลำย Container Index เท่ากับ 0 (CI =0) ร้อยละ 80 ของตำบล มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลำยในบ้านHouse Index ( HI ≤ 10) ร้อยละ 80 ของโรงเรียน และ รพช. รพศ. รพท. มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (CI = 0) Container Index (CI = 0) 2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง อัตราป่วยลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี มากกว่าร้อยละ 20 ความครอบคลุมของกิจกรรมการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ตามมาตรฐาน ขั้นตอนการดำเนินงานตามกิจกรรมหลักของการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ครบ 5 ขั้นตอนได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 : มีผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน ขั้นตอนที่ 2 : มีการวิเคราะห์สถานการณ์โรคเรื้อนระดับอำเภอ อย่างถูกต้องตามข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อน ขั้นตอนที่ 3 : มีแผนการดำเนินงานการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ขั้นตอนที่ 4 : มีงบประมาณสนับสนุนการดำาเนินงานควบคุมโรคเรื้อน ขั้นตอนที่ 5 : การดำเนินงานตามแผนที่กำาหนดไว้อย่างน้อยร้อยละ70
การสนับสนุนขององค์การบริหารส่วนตำบล ด้านงบประมาณ เช่น ค่าแรง ค่าตอบแทนต่างๆ เป็นต้น ด้านอุปกรณ์และสารเคมี เช่น เครื่องพ่นสารเคมี ทรายกำจัดลูกน้ำ และสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย เป็นต้น ด้านบุคลากร เช่น การส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมการใช้เครื่องพ่นและสารเคมี การจัดทีมควบคุมโรค เป็นต้น ด้านมาตรการทางกฎหมาย เช่น การผลักดันการใช้ข้อบัญญัติตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ศ.2535 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
หลักการของกฎหมาย ให้มีการคุ้มครองประชาชนด้านสุขลักษณะและการอนามัยสิ่งแวดล้อม กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีคณะกรรมการให้การสนับสนุนและติดตามกำกับดูแล ให้มีเจ้าพนักงานด้านวิชาการเป็นที่ปรึกษาและช่วยเหลือในการตรวจตราและแนะนำด้านวิชาการแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้ประชาชนมีสิทธิโต้แย้งการใช้อำนาจของเจ้าพนักงานได้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ การสาธารณสุข/การอนามัย ครอบครัว/รักษาพยาบาล พัฒนาเด็ก/สตรี/เยาวชน ส่งเสริมกีฬา ปรับปรุงชุมชนแออัด สถานที่พักผ่อน จัดให้มีทางน้ำ /ทางบก กำจัดสิ่งปฏิกูล /มูลฝอย ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ /ฆ่าสัตว์ การอนามัยโรงมหรสพ / สาธารณสถานอื่น ๆ ตลาด/ท่าเทียบเรือ การผังเมือง การควบคุมอาคาร รักษาทางน้ำ /ทางบก จัดบริการสาธารณะ ออกกฎ / บังคับใช้ ประชาชน / เอกชน / ผู้ประกอบการ
พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 สุขภาพ ประชาชน มีเจตนารมณ์ เพื่อ สอดคล้องกับมาตรา 11 แห่งพรบ.สุขภาพ สอดคล้องกับมาตรา 5 แห่งพรบ.สุขภาพ คุ้มครอง สุขภาพ ประชาชน ป้องกัน จุลินทรีย์ ที่ก่อโรค มลพิษ สิ่งแวดล้อม
สารบัญญัติตาม พรบ.การ สธ. 2535 หมวด 3 การกำจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ
หมวด 5 เหตุรำคาญ
เหตุรำคาญ จพง. ท้องถิ่น มีอำนาจ ในสถานที่เอกชน ในที่/ทางสาธารณะ สั่งให้บุคคลที่ก่อเหตุ ระงับ/ ป้องกัน ภายใน เวลาอันสมควร สั่งให้เจ้าของ / ผู้ครอบครอง สถานที่ระงับ/ แก้ไข ภายใน เวลาอันสมควร ถ้าเป็นกรณีที่อาจ เป็นอันตรายร้ายแรง ถ้าไม่แก้ไข ถ้าไม่แก้ไขและอาจ เป็นอันตรายร้ายแรง เข้าไประงับ/ จัดการได้ โดยเจ้าของ/ ผู้ครอบครอง ถ้าเกี่ยวข้องต้องเสียค่าใช้จ่าย สั่งห้ามใช้/ ยินยอม ให้ใช้สถานที่นั้น จนกว่าแก้ไขได้ เข้าไประงับ/ จัดการได้ โดยบุคคลก่อเหตุเป็น ผู้เสียค่าใช้จ่าย
สวัสดี