วิสัยทัศน์โรคติดต่อนำโดยแมลง 2018

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การค้ามนุษย์.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การป้องกันควบคุมอหิวาตกโรค ระดับจังหวัด ของ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
การบริหารจัดการท้องถิ่น
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิสัยทัศน์โรคติดต่อนำโดยแมลง 2018 นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยที่กำหนดชีวภาพ ประเทศเกาะในมหาสมุทรเริ่มถูกลบจากแผนที่ ในประเทศเมืองหนาวน้ำแข็งจากขั้วโลกละลายลงมาทำให้กระแสน้ำอุ่นใกล้ขั้วโลกเย็นลงฉับพลันทำให้ประเทศในยุโรปเหนืออุณหภูมิลดลง ส่ ในบริเวณเส้นศูนย์สูตรอากาศร้อนขึ้นและแปรปรวนมากขึ้น พายุประจำถิ่นต่าง ๆ รุนแรงกว่าทศวรรษที่แล้วอย่างชัดเจน ฝนตกห่างลงแต่ตกหนักขึ้นทำให้เกิดภาวะภัยแล้งสลับกับน้ำท่วมครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของโลก

โลกร้อนขึ้นจริง !

แนวหินทิ้งของเขตบางขุนเทียน สมุทรสาคร แนวหินทิ้งของเขตบางขุนเทียน นากุ้งเขตบางขุนเทียน คลองขุนราชพินิจใจ สมุทรปราการ 30-10-2007 ดร.จิรพล สินธุนาวา 4

น้ำท่วมฉับพลัน โคลนถล่ม

Heat waves 2002 Andhra Pradesh, India heat wave, with temperatures of up to 54 degrees Celsius, took a toll of at least 1400 lives Heat waves ตัวอย่างจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของอากาศ ที่เห็นได้ชัดคือ คลื่นความร้อน ในปี ค.ศ. ๒๐๐๒ ที่รัฐอันตรประเทศ อินเดีย มีคลื่นความร้อนผ่านทำให้อุณหภูมิขึ้นสูงถึง ๕๔ องศาเซลเซียส ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย ๑๔๐๐ ราย www.cbc.ca

สถานการณ์โรคติดต่อนำโดยแมลงในช่วง 10 ปีหน้า ไข้เลือดออกยังคงสูงขึ้น และระบาดในวงกว้างมากขึ้นตามความเจริญของเขตเมืองและการคมนาคม มาลาเรียจะกลับมาระบาดในพื้นที่ B1มากขึ้น ทำให้มี พื้นที่ A1 และA2 มากขึ้น การระบาดจะเกิดขึ้นแบบคลื่นใต้น้ำ โดยเฉพาะ แหล่งท่องเที่ยวและพื้นที่ที่จ้างแรงงานต่างชาติ โรคเท้าช้างในจังหวัดนราธิวาสและชายแดนจังหวัดตากยังคงมีอยู่ และมีระยะไมโครฟิลาเรียมากขึ้น อาจมีการระบาดจากต่างด้าวสู่คนไทยโดยเฉพาะในจังหวัดระนอง สมุทรสาคร

โรคนำโดยแมลงอุบัติใหม่ที่เข้ามากับแรงงานต่างชาติ เช่น Scrub Typhus มีการรายงานมากขึ้นเนื่องจากการวินิจฉัยดีขึ้นมีการบุกรุกที่อยู่ของหนูป่ามากขึ้น โรคนำโดยแมลงอุบัติใหม่ที่เข้ามากับแรงงานต่างชาติ เช่น ลิชมาเนีย นำโดย ริ้นฝอยทราย โรคอุบัติใหม่อาจจะเข้ามาโดยมีสัตว์เป็นรังโรคเช่น นก สัตว์ป่า เช่น West Nile fever Russian Crimian fever และ Rift Velley fever และนำโดยยุงรำคาญ เห็บ เป็นต้น

ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ ปัจจัยเสี่ยงของไทย นกอพยพย้ายถิ่น นกนำเข้าจาก ตปท. ยุง ที่มากับเครื่องบินหรือเรือจากพื้นที่เสี่ยง นกและยุงในประเทศ

Leishmaniasis Geographic distribution Major epidemic of VL ; Bangladesh, Brazil, India, Nepal, and Sudan Highlighted areas are parts of the world where leishmaniasis has been reported. Taken from British Medical Journal 2003 326:378 10

บทบาทขององค์กร การปรับโครงสร้างหน่วยงานส่วนกลางให้เล็กลง หน่วยงานส่วนกลางในภูมิภาคต้องมีหน้าที่เด่นชัด เป็นงานที่ท้องถิ่นหรือหน่วยงานระดับภูมิภาคดำเนินการไม่ได้ หรือเป็นการดำเนินการที่ครอบคลุมหลายพื้นที่ มีการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมากขึ้น การบริการขั้นพื้นฐานเช่น ระบบบริการสาธารณสุขระดับสถานีอนามัย โรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษาเข้าสู่การบริหารโดยท้องถิ่น ท้องถิ่นมีบทบาทในการป้องกันควบคุมโรคมากขึ้น

การจัดการด้านกำลังคน บุคลากรทดแทนโดยพนักงานของรัฐ การควบคุมโรคจะเป็นลักษณะจ้างเหมาหรือใช้ลูกจ้างชั่วคราว เอกชนจะมีส่วนในการป้องกันและควบคุมโรคมากขึ้น เช่น อบต.วิชิตจ้างเหมาให้เอกชนฉีดพ่นสารเคมีควบคุมไข้มาลาเรีย เป็นต้น การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรเช่น การประเมิน ความสามารถส่วนบุคคล ประสิทธิผลการทำงาน เป็นต้น การใช้เทคโนโลยีทดแทนกำลังคนมากขึ้น การทำงานเชิงพื้นที่จะมีข้อจำกัดมากขึ้น เนื่องจากการวางแผนจะเน้นการทำงานในสำนักงานมากกว่าในพื้นที่

การพัฒนางาน วางแผนด้านพัฒนากำลังคน สร้างค่านิยมการพัฒนาตน อย่างต่อเนื่อง สนับสนุนการเรียนรู้ทุกรูปแบบ เครือข่ายในพื้นที่จะต้องประสานและจัดการให้มีส่วนร่วม จัดสรรงบประมาณร่วมด้วย พัฒนาเครือข่าย สร้างความสัมพันธ์ ในฐานะแกนนำและที่ปรึกษา

การพัฒนางานวิชาการ การจัดการความรู้ด้านการควบคุมการระบาดของไข้มาลาเรีย ไข้เลือดออก มาตรฐานการควบคุมการระบาด การปฏิบัติงานภาคสนาม เป็นต้น การจัดตั้งศูนย์ศึกษาและอ้างอิงด้านพาหะนำโรค การจัดตั้งTraining center เพื่อพัฒนาเครือข่ายและการถ่ายโอนภารกิจ การเฝ้าระวังพิเศษเช่น การเฝ้าระวังการดื้อยา การดื้อสารเคมี ประสิทธิภาพของการพ่นเคมี เป็นต้น