คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ แนวทางการดำเนินงานของ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ที่สนับสนุนนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ ชลิต เข็มมาลัย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี

กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ ของ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 1. มีคณะกรรมการฯ : ภาคส่วนที่สำคัญมีส่วนร่วม เช่น อปท. สาธารณสุข อสม. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี : ข้อมูล ทันสถานการณ์ 3. มีการวางแผนฯ : แนวทางแก้ไข ตามปัญหาพื้นที่ 4. มีการระดมทุน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : แก้ไขปัญหาพื้นที่ทันการณ์ SRRT ตำบล

ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team, SRRT) เดิมเป็นภารกิจที่กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการผ่านทางกรมควบคุม โรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และสถานีอนามัย พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ได้กำหนดให้การป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ เป็นหน้าที่ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องทำ

งานควบคุมโรค บางหน่วยงานอาจจำแนกย่อยเป็นรายโรค/ภัยสุขภาพ หรือกลุ่มโรค เป็นการดำเนินมาตรการและกลวิธีต่าง ๆ เพื่อป้องกัน ควบคุมการเกิดโรคและภัยสุขภาพให้อยู่ในระดับปกติ และดำเนินการ ควบคุมการระบาด เมื่อมีการเกิดโรคและภัยสุขภาพที่เป็นภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข งานระบาดวิทยา ทำหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจจับการเกิดโรค/ภัยที่ฉุกเฉิน ผิดปกติ สอบสวนหาสาเหตุ และร่วมควบคุมการระบาดขั้นต้น

ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team, SRRT) บาบาทหน้าที่ 1. เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดรวดเร็วรุนแรง 2. ตรวจจับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public health emergency) 3. สอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพทันการณ์ 4. ควบคุมโรคขั้นต้น (containment) ทันที 5. แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรคและร่วมมือกันเป็นเครือข่าย

ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ กับหน่วยงานองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น แนวทางการดำเนินงาน ทีม SRRT อำเภอและเครือข่ายมีความพร้อมและปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดตั้งทีม SRRT ระดับอำเภอ ประกอบด้วย นายอำเภอ /ผอก.รพ./ สสอ./รพ.สต /อบต. การจัดตั้งทีม SRRT ระดับตำบล ประกอบด้วย รพ.สต /อบต./อสม./ ผู้นำชุมชน/ ประชาชน คณะกรรมการทีม SRRT และผ่านการอบรม

ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ แนวทางการดำเนินงาน การเฝ้าระวังเหตุการณ์ กรณีที่พบความผิดปกติหรือมีการระบาด เฝ้าระวังหรือสำรวจข้อมูลด้านพฤติกรรม หรือสิ่งแวดล้อม ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรค/ภัยสุขภาพในพื้นที่ อบต./อสม./ ผู้นำชุมชน/ ประชาชน

ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ แนวทางการดำเนินงาน มีการแจ้งข่าวแก่เครือข่าย กรณีที่พบความผิดปกติหรือมีการระบาด อบต./อสม./ ผู้นำชุมชน/ ประชาชน

ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ แนวทางการดำเนินงาน มีการจัดทำหรือนำเสนอรายงานสถานการณ์ทุกเดือน การประชุมทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล รพ.สต./อบต.

ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ แนวทางการดำเนินงาน มีการสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ กรณีที่พบความผิดปกติหรือมีการระบาด สสอ./รพ.สต./อบต./อสม.

ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ แนวทางการดำเนินงาน การประชุมทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล รพ.สต./อบต./อสม. /ผู้นำชุมชน/ ประชาชน

ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ แนวทางการดำเนินงาน มีเครือข่ายการฝ้าระวัง สอบสวนโรค เพื่อประโยชน์ ในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ มีการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคร่วมกัน รพ.สต./อบต./อสม. /ผู้นำชุมชน/ ประชาชน

ด้วยความจริงใจ ขอขอบคุณ สวัสดีครับ