การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
Advertisements

 ให้ผู้บริหารโรงเรียน ทุกโรงเรียนได้ ป้องกันขนย้ายสิ่งของที่ อยู่ชั้นล่างเอาไปไว้ ในที่สูง ๒. จัดหากระสอบ และ ทรายเพื่อทำคัน ป้องกันเบื้องต้น.
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
การพัฒนาโครงการ.
ความสำคัญของจิตสาธารณะ
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
สู่โรงเรียนบ้านแม่น้ำคู้
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ไข้เลือดออก.
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
ความรู้เครื่องพ่นเคมี
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ความรู้เครื่องพ่นเคมี
ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
ประเด็นปัญหาสาธารณสุขและแผนงานโครงการ ตำบลห้วยไร่ ปี 2557
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
อาสาสมัครสาธารณสุขดีเด่น สาขาควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เหตุการณ์จำลองกรณีเกิดแผ่นดินไหว
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
สิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
ความร่วมมือกับกรมการปกครอง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
3. ทีม อสม. สุ่มแลกเปลี่ยนหมู่บ้าน 3 เดือน/ครั้ง
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
กิจกรรม บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี ดอกรัก ฤทธิ์จีน กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

ส่วนประกอบของชุมชน

ทำไมต้องเตรียมชุมชนก่อนพ่นสารเคมี 1. เพื่อให้ทุกคนในชุมชนได้รับทราบปัญหาการเกิด โรคไข้เลือดออก 2. เมื่อทราบแล้วจะทำให้เกิดความกลัว ความตระหนัก ให้ความร่วมมือ 3. เป็นการให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาอย่าง จริงจัง ต่อเนื่อง

วิธีการเตรียมชุมชน 1. การประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว เหมาะกับชุมชน/หมู่บ้านที่ไม่ใหญ่มาก สามารถประชาสัมพันธ์ได้ยินทั่วถึง

2. ใช้หอกระจายข่าว และรถยนต์ประชาสัมพันธ์ วิ่งให้ทั่วชุมชน กรณีที่ชุมชนใหญ่ หรือมีพื้นที่กว้างมาก ประชาชนอาจไม่ทราบกันทั่วถึง

3. ใช้วิธีการเชิญประชุม เป็นวิธีที่ดีที่สุด - ได้พูดคุยกันใกล้ชิด - ได้มีการชี้แจงปัญหาที่เกิดขึ้น - ให้โอกาสในการแสดงความคิดเห็น ข้อเสีย - ต้องใช้เวลาในการเตรียม ทั้งสถานที่ การนัดหมายเวลา - ต้องมีผู้นำการประชุม วัสดุอุปกรณ์ - ชาวบ้านอาจมาประชุมน้อย โดยเฉพาะชุมชนในเขตเมือง ต้องดูเวลาให้เหมาะสม

สิ่งที่ต้องประชาสัมพันธ์ 1.ต้องแจ้งข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก มีผู้ป่วยเกิดขึ้นกี่คน ชื่ออะไรบ้าง เป็นลูกของใคร (บอกชื่อพ่อแม่) อายุผู้ป่วย บ้านเลขที่ อยู่คุ้มไหน เริ่มป่วยเมื่อไหร่ เข้ารักษาที่ไหน ปัจจุบันรักษาอยู่ที่ไหน

สิ่งที่ต้องประชาสัมพันธ์ 2. วัน เวลา ที่จะทำการพ่นสารเคมี ควรแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 12 ชั่วโมง 3. พ่นโดยวิธีไหน แบบหมอกควัน แบบฝอยละออง 4. พ่นโดยใคร / หน่วยงานไหน

การขอความร่วมมือจากชาวบ้าน ในวันพ่นสารเคมี ก่อนพ่นสารเคมี ขอให้ทุกครัวเรือน กำจัดลูกน้ำยุงลายพร้อมกัน กำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ต่างๆ โดยเฉพาะ ภาชนะที่ไม่ได้ประโยชน์ ภาชนะที่เหลือทิ้งรอบๆ บ้าน

การขอความร่วมมือจากชาวบ้าน ทำความสะอาดใหญ่ ทั้งหมู่บ้าน พร้อมกัน กำจัดขยะมูลฝอยต่างๆ ถางหญ้า ต้นไม้ ที่รกรุงรังอาจเป็นแหล่งเกาะพักของยุงได้ กำจัดลูกน้ำ และกำจัดภาชนะที่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายที่ โรงเรียน วัด อาคารสถานที่สาธารณะต่าง ๆ

การทำความสะอาดหมู่บ้าน / ชุมชน ให้ผู้นำชุมชน เป็นแกนนำ อสม. ดูแลการดำเนินงานของครัวเรือนที่รับผิดชอบ ครู นักเรียน ร่วมรณรงค์ทั้งในโรงเรียน วัด หมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก ศาลากลางบ้าน อสม. ต้องสำรวจลูกน้ำ และภาชนะที่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทุกหลังคาเรือน ต้องไม่มีลูกน้ำหลงเหลือ และมั่นใจว่าปลอดภัย ถ้ายังพบลูกน้ำในคุ้มใด ให้ดำเนินการใหม่ จนกว่าจะไม่พบลูกน้ำ

สิ่งที่ต้องแจ้งเตือนประชาชน การพ่นเคมีอาจเป็นอันตรายต่อสัตว์เลี้ยงต่างๆ 1. เด็กทารก เด็กเล็กที่ช่วยตัวเองไม่ได้ รวมทั้งผู้ป่วย คนชรา และประชาชนทั่วไป 2. สัตว์เลี้ยงต่างๆ ได้แก่ นกเขา นกหงส์หยก นกขุนทอง นกอื่นๆ ไก่ชน 3. สัตว์เศรษฐกิจ ได้แก่ การเลี้ยงไหม จิ้งหรีด

สิ่งที่ประชาชนต้องปฏิบัติ ในวันพ่นสารเคมี การเตรียมอาคารบ้านเรือนให้พร้อม ให้ขนย้ายสัตว์เลี้ยงต่างๆ ออกนอกบริเวณที่จะพ่นสารเคมีชั่วคราว หลังจากพ่นสารเคมีแล้วประมาณ 30 นาที – 1 ชั่วโมงสามารถขนย้ายกลับได้ ชาวบ้าน เด็กทารก ผู้ป่วย คนชรา ให้ออกห่างบริเวณที่พ่นสารเคมี อย่างน้อย 20- 30 นาที

ปัญหาที่พบบ่อย รีบร้อน เข้าไปพ่นสารเคมีโดยไม่ประชาสัมพันธ์ บ้านผู้ป่วย เจ้าของบ้านไม่ทราบว่าจะมีการพ่น และต้องทำอย่างไร ไม่นัดหมายเวลาชัดเจน ทำให้ขาดความร่วมมือ บางครอบครัวไม่ให้ความร่วมมือ ต้องอาศัยผู้นำเข้าไปพูดคุย ขนย้ายสัตว์เศรษฐกิจไม่ทัน (ต้องแจ้งล่วงหน้า) พ่นสารเคมีอย่างเดียว โดยไม่ได้รณรงค์กำจัดลูกน้ำ ไม่กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายพร้อมกัน ทำให้ได้ผลไม่เต็มที่ ขาดการประเมินผลก่อนและหลังการพ่นและกำจัดลูกน้ำ