เลนส์นูน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
เตรียมการก่อนเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เดินตามเส้น
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
Points, Lines and Planes
การโต้ตอบแบบ Target Area
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
ปากกาแสง (Light Pen) นางสาวพัชรินทร์ จันทร์เขียว
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
เลนส์.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
การพิมพ์การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
แผนผังเวทีห้องประชุมใหญ่ ประตูเข้า-ออก หน้าม่าน ประตูเข้า-ออก หน้าม่าน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
การสร้างแบบเสื้อและแขน
วงรี ( Ellipse).
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
การหักเหของแสง (Refraction)
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เลนส์นูน

แบบทดสอบก่อนเรียน เริ่ม

ข้อ 1) จากภาพตำแหน่งใดคือจุดโฟกัส 1. ตำแหน่ง ก 2. ตำแหน่ง ข 3. ตำแหน่ง ค 4. ตำแหน่ง ง

ถูกค่ะ ไปข้อ 2

ผิดค่ะ ไปข้อ 2

ข้อ 2) การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูน ข้อใด ถูกต้อง B. A. F D. C. F 2F 2F 1. A B C และ D 2. A C และ D 3. C และ D 4. B เท่านั้น

ถูกค่ะ ไปข้อ 3

ผิดค่ะ ไปข้อ 3

ข้อ 3) ถ้าวางวัตถุให้ห่างจากเลนส์นูนเท่ากับ 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ของเลนส์ จะเกิดภาพในลักษณะใด 1. ภาพจริง หัวกลับ ขนาดขยาย 2. ภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดขยาย 3. ภาพจริง หัวกลับ ขนาดเท่าวัตถุ 4. ภาพที่ระยะอนันต์

ถูกค่ะ ไปข้อ 4

ผิดค่ะ ไปข้อ 4

ข้อ 4) จากภาพ F คือจุดโฟกัสของเลนส์นูน เมื่อวางวัตถุที่จุด A ซึ่งห่างจากจุด F เป็นระยะทางครึ่งหนึ่งของระยะ OF ภาพของ A จะปรากฏที่จุดใด B A F O C D E 1. B 2. C 3. D 4. E

ถูกค่ะ ไปข้อ 5

ผิดค่ะ ไปข้อ 5

ข้อ 5) ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน ข้อใดถูกต้อง ถ้า A เป็นวัตถุ B เป็นภาพ F 2F 1. 2F F B A F 2F 2. 2F F B A F 2F 3. 2F F B A F 2F 4. 2F F B

ถูกค่ะ จบแบบทดสอบ

ผิดค่ะ จบแบบทดสอบ

เนื้อหา เลนส์นูน

การเขียนทางเดินของแสง เพื่อหาภาพที่เกิดจากเลนส์บาง

หน้าต่อไป ให้เขียนทางเดินของแสงตามขั้นตอนต่อไปนี้ วัตถุ F (จุดโฟกัส) เส้นแกนมุขสำคัญ ภาพ หน้าต่อไป 1. วาดรูปเลนส์ ลากแกนมุขสำคัญ และวาดวัตถุ 2. ลากรังสีจากวัตถุ 2.1 จากหัววัตถุ ขนานกับแกนมุขสำคัญ เข้ากระทบเลนส์ แล้วเกิดการหักเหไปผ่านจุดโฟกัส 2.2 จากหัววัตถุ ผ่านจุดกึ่งกลางเลนส์ ไปตัดกับรังสีเส้นที่ 1 ตำแหน่งที่ตัดกันเป็นตำแหน่งภาพที่หัววัตถุ

ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน ที่วางวัตถุไว้ที่ตำแหน่งต่างๆ

1. เมื่อวัตถุที่ระยะอนันต์ F 2F 2F F ภาพ เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็นภาพจริง ขนาดเล็กมากหรือเป็นจุด อยู่ที่จุดโฟกัส หน้าต่อไป

2. เมื่อวัตถุอยู่ระหว่างระยะ 2F กับระยะอนันต์ ภาพ เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็นภาพจริงหัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < 2 เท่าของความยาวโฟกัส หน้าต่อไป

3. เมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะ 2F ภาพ เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็นภาพจริงหัวกลับ ขนาดเท่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ 2 เท่าของความยาวโฟกัส หน้าต่อไป

4. เมื่อวัตถุอยู่ระหว่างระยะ F กับ 2F ภาพ เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็นภาพจริงหัวกลับ ขนาดโตกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ >2 เท่าของความยาวโฟกัส หน้าต่อไป

5. เมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะ F ภาพ ไม่เกิดภาพ หรืออาจเกิดได้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ในระยะไกล หน้าต่อไป

6. เมื่อวัตถุอยู่ในระยะ F ภาพ วัตถุ F 2F 2F F เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็นภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดโตกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ > ความยาวโฟกัส หน้าต่อไป

แบบทดสอบหลังเรียน เริ่ม

ข้อ 1) จากภาพตำแหน่งใดคือจุดโฟกัส 1. ตำแหน่ง ก 2. ตำแหน่ง ข 3. ตำแหน่ง ค 4. ตำแหน่ง ง

ถูกค่ะ คำอธิบาย

ผิดค่ะ คำอธิบาย

ไปข้อ 2 ข้อ 1) ตอบ 3. ก ค ง ข คำอธิบาย ตำแหน่ง ก คือ วัตถุ ตำแหน่ง ข คือ จุดใจกลางเลนส์ ตำแหน่ง ค คือ จุดโฟกัส ตำแหน่ง ง คือ ภาพ ไปข้อ 2

ข้อ 2) การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูน ข้อใด ถูกต้อง B. A. F D. C. F 2F 2F 1. A B C และ D 2. A C และ D 3. C และ D 4. B เท่านั้น

ถูกค่ะ คำอธิบาย

ผิดค่ะ คำอธิบาย

ไปข้อ 3 ข้อ 2) ตอบ 2. คำอธิบาย A. แสงหักเหถูกต้อง B. แสงหักเหผิด F C. แสงหักเหถูกต้อง D. แสงหักเหถูกต้อง F 2F 2F

ข้อ 3) ถ้าวางวัตถุให้ห่างจากเลนส์นูนเท่ากับ 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ของเลนส์ จะเกิดภาพในลักษณะใด 1. ภาพจริง หัวกลับ ขนาดขยาย 2. ภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดขยาย 3. ภาพจริง หัวกลับ ขนาดเท่าวัตถุ 4. ภาพที่ระยะอนันต์

ถูกค่ะ คำอธิบาย

ผิดค่ะ คำอธิบาย

ไปข้อ 4 ข้อ 3) ตอบ 3. คำอธิบาย วัตถุ F 2F 2F F ภาพ จากการเขียนภาพจะได้ ภาพจริง หัวกลับ ขนาดเท่าวัตถุ ไปข้อ 4

ข้อ 4) จากภาพ F คือจุดโฟกัสของเลนส์นูน เมื่อวางวัตถุที่จุด A ซึ่งห่างจากจุด F เป็นระยะทางครึ่งหนึ่งของระยะ OF ภาพของ A จะปรากฏที่จุดใด B A F O C D E 1. B 2. C 3. D 4. E

ถูกค่ะ คำอธิบาย

ผิดค่ะ คำอธิบาย

ไปข้อ 5 ข้อ 4) ตอบ 4. คำอธิบาย จากการเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาภาพ วัตถุ B F O C D E A ภาพ ทำให้เกิดภาพที่จุด E ไปข้อ 5

ข้อ 5) ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน ข้อใดถูกต้อง ถ้า A เป็นวัตถุ B เป็นภาพ F 2F 1. 2F F B A F 2F 2. 2F F B A F 2F 3. 2F F B A F 2F 4. 2F F B

ถูกค่ะ คำอธิบาย

ผิดค่ะ คำอธิบาย

จบแบบทดสอบ ข้อ 5) ตอบ 3. คำอธิบาย A F 2F 2F F B เมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะ 2F จะเกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็นภาพจริงหัวกลับ ขนาดเท่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ 2 เท่าของความยาวโฟกัส จบแบบทดสอบ

งาน - ให้นักเรียนเขียนทางเดินของแสงที่ผ่าน เลนส์เว้าเมื่อวางวัตถุไว้ที่ระยะต่างๆกัน - สรุปลักษณะภาพที่เกิดจากเลนส์นูน เลนส์เว้า เมื่อวางวัตถุไว้ที่ระยะต่างๆ - โจทย์ตัวอย่างเกี่ยวกับเลนส์เว้า 2 ข้อ -ลักษณะการส่งงาน 1.ส่งมาที่ NAREERUT_ TOY@HOTMAIL.COM 2.ส่งภายในเดือนมิถุยายน 2554