คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
UPDATING DATA By SQL (SA&D-9)
Advertisements

บทที่ 4 PHP with Database
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
12. การบันทึกข้อมูลลงในตาราง
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
บทที่ 5 Visual C#.NET กับ ฐานข้อมูล
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VI : การบันทึกข้อมูลผ่านเว็บเพจ
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล ด้วยโปรแกรม SQL
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
HTTP Client-Server.
การเขียนโปรแกรมออนไลน์
ASP:ACCESS Database.
ASP:ACCESS Database.
MySQL.
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
การเชื่อมต่อฐานข้อมูลด้วย PHP
SQL - Structured Query Language
– Web Programming and Web Database
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ “ฐานข้อมูล”
Php with Database Professional Home Page :PHP
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
จากไฟล์ save_db.php.
การใช้งาน phpMyAdmin เพื่อจัดการฐานข้อมูล MySQL
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Database Programming Exceed Camp #2 24 October 2005.
การเชื่อมต่อฐานข้อมูล โดยใช้คอนโทรล SQLDataSource
การสร้างช่องรับข้อมูล
MySQL Case study about MySQL On XAMPP server Update : August 23,2012
PHP:Hypertext Preprocessor
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ซอฟแวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล (MySQL)
Software Engineering Project Presentation
IP Address / Internet Address
HTML, PHP.
SQL Structured Query Language.
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลMySQL
Chapter 10 Session & Cookie.
การจัดการฐานข้อมูล.
การสร้างฐานข้อมูลโดยการใช้ phpMyAdmin
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
CHAPTER 12 SQL.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
SQL Structured Query Language.
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
PHP with MySQL.
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
Software ซอฟต์แวร์.
Chapter 1 : Introduction to Database System
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูล
Introduction to SQL (MySQL) – Special Problem (Database)
PHP: [9] ฐานข้อมูล MYSQL
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
SQL – Web Programming and Web Database
เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล MySQL Database
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล ที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจเปรียบฐานข้อมูลเสมือนเป็น electronic filing system

องค์ประกอบของ Database

Bit ( บิต ) บิต (bit) ย่อมาจาก Binary Digit ข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ 1 บิต จะแสดงได้ 2 สถานะคือ 0 หรือ 1 การเก็บข้อมูลต่างๆได้จะต้องนำ บิต หลายๆ บิต มาเรียงต่อกัน เช่นนำ 8 บิต มาเรียง เป็น 1 ชุด เรียกว่า 1 ไบต์ เช่น หมายถึง ก หมายถึง ข

เขตข้อมูล (field) เมื่อเรานำ ไบต์ (byte) หลายๆ ไบต์ มาเรียงต่อ กัน เรียกว่า เขตข้อมูล (field) เช่น Name ใช้ เก็บชื่อ LastName ใช้เก็บนามสกุล เป็นต้น = พอลล่า (Name) ……………………………………………… = เทเลอร์ (LastName)

ระเบียน (record) เมื่อนำเขตข้อมูล หลายๆ เขตข้อมูล มาเรียงต่อ กัน เรียกว่า ระเบียน (record) เช่น ระเบียน ที่ 1 เก็บ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ของ นักเรียน คนที่ 1 เป็นต้น ชื่ออาชีพอายุ พอลล่า เทเลอร์นักแสดง 25 อุดร สมบัติมากขายกล้วยแขก 45 วัลภา อุดมโชคขายล๊อตตารี่ 30 Record ที่ 1 Record ที่ 2 Record ที่ 3

แฟ้มข้อมูล การเก็บระเบียนหลายๆระเบียน รวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) เช่น แฟ้มข้อมูล นักเรียน จะเก็บ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ของนักเรียน จำนวน 500 คน เป็นต้น รหัสลูกค้ารหัสสินค้าจำนวนที่ ซื้อ 1001A A0021 แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า แฟ้มข้อมูล stock สินค้า รหัสลูกค้าชื่อที่อยู่ 1001 พอลล่า เท เลอร์ สุขุมวิท พัชราภา ไชยเชื้อ ดินแดง 115 รหัสสิน ค้า ราคา จำนวน คงเหลือ A A

การจัดเก็บ แฟ้มข้อมูล หลายๆ แฟ้มข้อมูล ไว้ ภายใต้ระบบเดียวกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล หรือ Database แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า แฟ้มข้อมูล stock สินค้า ระบบฐานข้อมูล E-Commerce

การเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลจึงจำเป็นต้องมีระบบการ จัดการฐานข้อมูลมาช่วยเรียกว่า database management system (DBMS) ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้ สามารถจัดการกับข้อมูล ตามความต้องการได้ ในหน่วยงานใหญ่ๆอาจมีฐานข้อมูลมากกว่า 1 ฐานข้อมูลเช่น ฐานข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูลลูกค้า ฐานข้อมูลสินค้า เป็นต้น

ข้อมูลลูกค้า : Register.php

ภาพรวมของ myEcomDB

ตัวอย่างข้อมูลใน MyEcomDB Table : Customer Table : Order Table : Payment

ขั้นตอนการสร้างฐานข้อมูล DataBase ด้วย โปรแกรม PHPMyAdmin เรียกโปรแกรม phpMyAdmin โดยเรียกที่ url : แล้วกรอก username และ password ในการเข้าใช้ database User Name : root Password : ** ดูต่อตามใบงานที่ 2

การเขียนโปรแกรม PHP ติดต่อกับ Database สร้าง connection ไปยังฐานข้อมูล สร้าง sql statement สร้าง sql query

สร้าง connection ไปยังฐานข้อมูล PHP Program -Web page (HTML) - Web page (PHP) mySQL Database ตาราง Customer ตาราง Order connection

สร้าง SQL Statement Insert statement : เพิ่ม record ลงในตาราง Delete statement : ลบ record จากตาราง Update Statement : ปรับปรุงข้อมูลใน record ในตาราง Select Statement : เรียกดูข้อมูล record ใน ตาราง

Insert statement : เพิ่ม record ลงในตาราง รูปแบบ Insert into ชื่อตาราง ( ชื่อฟิวด์ 1, ชื่อฟิวด์ 2, ชื่อฟิวด์ 3) Values (value1, value2, value3); ตัวอย่าง 1 Insert into Student (ID, Name, Level) Values (‘5044XX’, ‘ พอลล่า เทเลอร์ ’, ‘ ปี 4’); IDNameLevel 5044XX พอลล่า เทเลอร์ ปี 4 Student Table

Insert statement : เพิ่ม record ลงในตาราง ตัวอย่าง 2 Insert into Student (ID, Name, Level) Values (‘5044YY’, ‘ เคน ธีระเดช ’, ‘ ปี 2’); IDNameLevel 5044XX 5044YY พอลล่า เทเลอร์ เคน ธีระ เดช ปี 4 ปี 2 Student Table

Delete statement : ลบ record จาก ตาราง รูปแบบ Delete from ชื่อตาราง Where ( ชื่อฟิวด์ = ‘value’); ตัวอย่าง 1 Delete from Student Where (ID = ‘5044YY’); IDNameLevel 5044XX 5044YY พอลล่า เทเลอร์ เคน ธีระ เดช ปี 4 ปี 2 ลบ record นี้ออก ->

Delete statement : ลบ record จาก ตาราง ตัวอย่าง 2 Delete from Student Where (ID = ‘5044XX’); IDNameLevel 5044XX พอลล่า เทเลอร์ ปี 4 ลบ record นี้ออก ->

Update Statement : ปรับปรุงข้อมูลใน record ในตาราง รูปแบบ Update ชื่อตาราง Set ( ชื่อฟิวด์ = ‘Value’) Where ( ระบุ record ที่ ต้องการปรับปรุง ) ; ตัวอย่าง 1 Update Student Set (Name = “ อั้ม พัชราภา ”) Where (ID = ‘5044XX’); Student Table IDNameLevel 5044XX 5044YY อั้ม พัช ราภา เคน ธีระ เดช ปี 4 ปี 2 แก้ไข record นี้ ->

Update Statement : ปรับปรุงข้อมูลใน record ในตาราง ตัวอย่าง 2 Update Student Set (Name = “ อั้ม อธิชาติ ”) Where (ID = ‘5044YY’); Student Table IDNameLevel 5044XX 5044YY อั้ม พัช ราภา อั้ม อธิ ชาติ ปี 4 ปี 2 แก้ไข record นี้ ->

Select Statement : เรียกดูข้อมูล record ในตาราง รูปแบบ Select ชื่อฟิวด์ 1, ชื่อฟิวด์ 2, ชื่อฟิวด์ 3 From ชื่อตาราง Where ( ระบุ record ที่ต้องการ เรียกดู ) ; ตัวอย่าง 1 Select ID, Name From Student Where Level = ‘ ปี 2’ Student Table IDName 5044YY เคน ธีระ เดช Level = ‘ ปี 2’

Step3: สร้าง SQL Query เป็นการส่งคำสั่ง SQL Statement ให้ไป ประมวลผลหรือทำงานที่ Database

สร้าง Connection สร้าง SQL Statement ส่งคำสั่งไปยัง Database ให้ประมวลผลตามคำสั่ง

Register.php [ บันทึกข้อมูล ] สร้าง database(myEcomDB), สร้างตาราง customer ( ตามใบงานที่ 2) เขียน Source Code PHP ให้มีการส่งค่าข้อมูล จากหน้า Register.php แบบ POST ไปยังไฟล์ AddCustomer.php ซึ่งจะเป็นไฟล์ที่ทำการ บันทึกข้อมูลลงฐานข้อมูล