๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

ภาษา SQL (Structured Query Language)
Distributed Administration
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
Thesis รุ่น 1.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Information Technology Code (21241) Teacher name Ms pimpon petin
การใช้คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
ภาษา SQL (Structured Query Language)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
ซอฟต์แวร์.
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
Surachai Wachirahatthapong
MySQL.
Databases Design Methodology
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
โปรแกรม Microsoft Access
Chapter 1 ระบบฐานข้อมูล (Database System)
Chapter 2 Database systems Architecture
การเงิน.
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคเรื้อรัง
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กระบวนการสอบถามข้อมูล
System Integration.
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
System Development Lift Cycle
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
Chapter 9 การปรับแต่งระบบให้เหมาะสมกับ การใช้งาน.
ขั้นตอนในการประเมิน ขีดความสามารถ/ขีดสมรรถนะ ของข้าราชการ ทร.
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
Geographic Information System
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
โปรแกรม Microsoft Access
การจัดการฐานข้อมูล.
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
CHAPTER 12 SQL.
การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การออกแบบการวิจัย.
SQL (Structured Query Language)
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
제 10장 데이터베이스.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล แต่ผู้ใช้จะต้องศึกษาภาษาที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูล โดยผ่านทางระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS)

1) ภาษา SQL (Structured Query Language)

2) ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language - DDL) 3) ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language-DML) 4) ภาษาสำหรับการควบคุมข้อมูล (Data Control Language-DCL)

๕.๗ การพัฒนาฐานข้อมูลของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ในองค์กรที่มีการใช้งานฐานข้อมูลโดยทั่วไป การจะใช้งานฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและตรงกับความต้องการของผู้ใช้นั้น ย่อมจะต้องมาจากการออกแบบฐานข้อมูลที่มีการวางแผนมาเป็นอย่างดี โดยจะต้องมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ซึ่งการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นกระบวนการจัดการข้อมูลดิบให้เป็นสารสนเทศซึ่งอยู่ในรูปแบบที่นำมาใช้ประโยชน์ได้สะดวก โดยมีกระบวนการดังต่อไปนี้

๕.๗.๑ ขั้นตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปแล้วขั้นตอนในการพัฒนาระบบจะมีอยู่ด้วยกัน 3 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) 2) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3) การพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

๕.๗.๒ แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ หลังจากนั้นก็นำมาพัฒนาระบบสารสนเทศโดยอาศัยแนวทางดังนี้ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ และกลุ่มผู้ใช้ (Objective Formulation and Users Identification) 2. การศึกษาเบื้องต้น (Preliminary Study) 3. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 4. การออกแบบระบบ (System Design) 5. การพัฒนาระบบ (Construction)

ดังนั้นระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ที่ได้พัฒนาขึ้นมาจะสามารถเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลที่แสดงคุณลักษณะต่างๆ ในรูปแบบแผนที่และคำอธิบาย ในลักษณะการประยุกต์ใช้งานกับการจัดการฐานข้อมูลจริงในปัจจุบัน และนอกจากนี้จะต้องมีคู่มือประกอบแฟ้มข้อมูลนั้นๆ ด้วยเพื่อประโยชน์ในการค้นหาข้อมูลในอดีตได้ง่ายขึ้น เราสามารถใช้โปรแกรม Microsoft Excel หรือ Microsoft Access เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลของหน่วยงานของเรา ซึ่งเราสามารถที่จะนำมาใช้ประโยชน์ได้ต่อไปในอนาคต ความยากของการจัดการฐานข้อมูลคือ การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลว่าจะจัดเก็บอยู่ในลักษณะใด