บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) [อสมท]
Advertisements

กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย.
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
องค์การสุรา กรมสรรพสามิต
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
โรงงานผลิตยางแผ่นผึ่งแห้ง/ยางแผ่นรมควันสร้างขึ้น
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด (บอก.)
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.)
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อ.ส.พ.)
องค์การสะพานปลา (อสป.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.)
โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง (รยส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป ธนาคารออมสิน ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด.
องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496
บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จำกัด (บทด.)
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การจัดการน้ำเสีย (อจน.)
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อตก.)
การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป สำนักงานธนานุเคราะห์ (สธค.)
การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การสวนสัตว์ (อสส.)
บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (บวท.)
การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)
การประปานครหลวง (กปน.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (บกท.)
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.)
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม.
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.)
บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)(กสท)
พ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท.)
สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.)
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง www.sepo.go.th ข้อมูลทั่วไป บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) สังกัด : กระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการ : นายธีรพล นพรัมภา กรรมการผู้แทน กค. : 1. นายสมชัย สัจจพงษ์ 2. นายประสงค์ พูนธเนศ Website: www.airportthai.co.th โทร. 0 2535 1111 พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน (ม. 6) การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีเป็นกรรมการของรัฐวิสาหกิจที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ได้ (ไม่ใช้บังคับแก่กรรมการของบริษัทจำกัด) (ม. 8 วรรคสองและวรรคสาม) การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการ ที่กระทรวงการคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรคหนึ่ง) การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด ผู้บริหาร (CEO) : อยู่ระหว่างการสรรหา สัญญาจ้างลงวันที่ : ระยะเวลาจ้าง :  วาระที่ 1  วาระที่ 2 ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO:  Board  รอง CEO  บุคคลภายนอก รอง CEO  พนักงาน  สัญญาจ้าง CFO  พนักงาน  สัญญาจ้าง เงินเดือนพนักงาน กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน  บอร์ดกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น Mix-min ของเงินเดือน = 6,180 - 277,000บาท ปริญญาตรี (๔ ปี) = 11,500 บาท จำนวนพนักงาน = 4,134 คน (31 พ.ค. 54) ข้อบังคับของ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ : ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน เลือกตั้งโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยมีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร และกรรมการอย่างน้อย 1 คนต้องมีความรู้ความสามารถในด้านการบัญชีและการเงิน (ข้อ 36) วาระการดำรงตำแหน่ง : ในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำแหน่ง ตามวาระเป็นจำนวนหนึ่งในสามทุกปี ถ้าแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้เคียงที่สุด และกรรมการที่ออกตามวาระอาจถูกเลือกเข้ามาดำรงตำแหน่งใหม่ก็ได้ (ข้อ 39) การแต่งตั้งกรรมการ : ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด (ข้อ 38) ผู้มีอำนาจแต่งตั้งบริหารสูงสุด : คณะกรรมการ ทอท. เลือกตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (ข้อ 36 วรรคท้าย) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป ยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 มีโครงการ จำนวน 6 โครงการ โครงการระบบให้บริการเชื้อเพลิงอากาศยาน (1) อยู่ในขั้นตอน คกก. ม.22 โครงการระบบให้บริการเชื้อเพลิงอากาศยาน (2) อยู่ในขั้นตอน คกก. ม. 22 โครงการครัวการบิน (1) อยู่ในขั้นตอน คกก. ม.22 โครงการครัวการบิน (2) อยู่ในขั้นตอน คกก. ม.22 โครงการอุปกรณ์บริการภาคพื้นและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการซ่อมบำรุง อยู่ในขั้นตอน คกก. ม.22 โครงการคลังสินค้า อยู่ในขั้นตอน คกก. ม.22 คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ ห้ามมิให้กรรมการประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการ ของบริษัทหรือเข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือเป็นหุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำกัดหรือเป็นกรรมการของบริษัทอื่น ไม่ว่าบริษัทเอกชนหรือบริษัทมหาชนที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท ไม่ว่าจะทำเพื่อประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น เว้นแต่กรรมการผู้นั้นจะได้แจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อน ที่จะมีมติแต่งตั้งตนเป็นกรรมการ (ข้อ 51) อำนาจพิเศษตามพระราชกฤษฎีกากำหนดอำนาจ สิทธิ และประโยชน์ของ บมจ. ทอท. พ.ศ. 2545 ในการประกอบกิจการท่าอากาศยาน ให้บริษัทมีอำนาจได้รับยกเว้น มีสิทธิพิเศษหรือได้รับความคุ้มครองตามที่กฎหมายว่าด้วยการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยหรือกฎหมายอื่นได้บัญญัติไว้ให้แก่ ทอท. เว้นแต่กรณีที่บัญญัติไว้ตามมาตรา 5 และมาตรา 6 (มาตรา 4) ให้ทรัพย์สินของบริษัทเท่าที่จำเป็นในการประกอบกิจการท่าอากาศยานที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี (มาตรา 5) ในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อรักษาความปลอดภัยในเขตท่าอากาศยาน ให้ลูกจ้างของบริษัทเฉพาะที่รัฐมนตรีแต่งตั้งเพื่อการนี้เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาและเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา(มาตรา 6) หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน ที่มาของข้อมูล  สัญญาจ้างผู้บริหาร  www.krisdika.go.th  มติคณะรัฐมนตรี  ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 1 ผู้อำนวยการส่วน : - ผู้จัดทำ : นางสาวชัชดาภา จารุรังสรรค์ โทร. 0 2298 5880-9 ต่อ 6746 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (update) สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่ปรากฎว่ามีสิทธิพิเศษเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตามมติคณะรัฐมนตรี ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง ต่อด้านหลัง

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง www.sepo.go.th บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) เรื่องเสร็จที่ ๑๓๕/๒๕๕๐ เรื่อง การบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. ๒๕๓๕ กรณีโครงการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายสินค้าปลอดอากร ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานภูมิภาคและโครงการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ณ อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คณะกรรมการกฤษฎีกาได้เคยวางบรรทัดฐานเกี่ยวกับวงเงินหรือทรัพย์สินตามบทนิยาม“โครงการ” ในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐฯ ไว้ว่า หมายความถึง วงเงินหรือทรัพย์สินของการลงทุนในกิจการของรัฐในส่วนของรัฐและในส่วนของเอกชนที่เข้ามาร่วมลงทุนในโครงการซึ่งจะทำให้โครงการนั้นบรรลุผล และสามารถดำเนินกิจการนั้นให้คงอยู่ได้ เช่น มูลค่าของที่ดิน อาคาร หรือทรัพย์สิน ในการดำเนินโครงการ เป็นต้น โดยต้องพิจารณามูลค่าของการลงทุนที่แท้จริงทั้งหมดตลอดทั้งโครงการประกอบกับคณะกรรมการกฤษฎีกาได้เคยวินิจฉัยให้ความเห็นกรณีโครงการจัดตั้งร้านค้าปลอดอากร ณ สนามบินสุวรรณภูมิ ไว้แล้วว่า โครงการดังกล่าวเป็นการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐฯ โดยการประเมินวงเงินการลงทุนของโครงการนั้นจะต้องนำวงเงินการลงทุนในการซื้อสินค้าคงคลังเพื่อการจำหน่าย เฉพาะในส่วนที่จะต้องจัดให้มีและเป็นสาระสำคัญอันจะทำให้โครงการดังกล่าวบรรลุผล มารวมเข้ากับมูลค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องด้วย สำหรับการคำนวณมูลค่าของอาคารนั้น เห็นว่า การคำนวณมูลค่าของอาคารเพื่อนำมารวมคำนวณมูลค่าการลงทุนของโครงการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายสินค้าปลอดอากรฯ และโครงการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ฯ ได้แก่ มูลค่าของอาคารที่แท้จริงเฉพาะส่วนที่อนุญาตให้เอกชนมีสิทธิเข้าใช้ในการดำเนินการหรือประกอบกิจการทั้งหมดในแต่ละโครงการ โดยไม่ต้องนำค่าเสื่อมราคาของอาคารมาคำนวณนับรวมด้วย เรื่องเสร็จที่ ๔๐๙/๒๕๕๑ เรื่อง การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา ๔๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วัตถุประสงค์ของการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่กำหนดเป็นเงื่อนไขในมาตรา ๔๒๑ ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย นั้น มุ่งหมายที่จะทำให้บริเวณที่มีการเวนคืนมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นหรือคงไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดีดังเดิม แต่กรณีการเวนคืน อสังหาริมทรัพย์บริเวณโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิตามที่ ทอท. ประสงค์จะนำ ที่ดินที่ได้จากการเวนคืนไปพัฒนาอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้า ทางอากาศในเขตปลอดอากรระบบ Logistic และส่วนสนับสนุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องนั้น มิได้ทำให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณดังกล่าวดีขึ้นหรือคงไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดีดังเดิมแต่อย่างใด คงมีผลแต่เฉพาะทำให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณดังกล่าวต้องออกจากพื้นที่เท่านั้น ดังนั้น การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปัญหาผลกระทบด้านเสียงของผู้อาศัยอยู่บริเวณโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิจึงไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๒ ของรัฐธรรมนูญฯ ดังนั้นกรณีที่ ทอท. จะนำที่ดินไปพัฒนาอุตสาหกรรมซึ่งมิใช่วัตถุประสงค์ของการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม จึงไม่อาจกระทำได้