การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) [อสมท]
Advertisements

ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
ค่าเบี้ยประชุม สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย.
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
องค์การสุรา กรมสรรพสามิต
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
โรงงานผลิตยางแผ่นผึ่งแห้ง/ยางแผ่นรมควันสร้างขึ้น
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด (บอก.)
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.)
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อ.ส.พ.)
องค์การสะพานปลา (อสป.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.)
โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง (รยส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป ธนาคารออมสิน ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด.
องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496
บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จำกัด (บทด.)
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การจัดการน้ำเสีย (อจน.)
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อตก.)
การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป สำนักงานธนานุเคราะห์ (สธค.)
การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การสวนสัตว์ (อสส.)
บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (บวท.)
การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)
การประปานครหลวง (กปน.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (บกท.)
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.)
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม.
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.)
บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)(กสท)
พ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท.)
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.)
สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.)
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
มติ ครม.19 มิถุนายน 2550 เห็นชอบ
ระเบียบพัสดุฉบับใหม่ ๒๕๕๓
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
ระเบียบพัสดุฉบับใหม่ ๒๕๕๓
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
หลักเกณฑ์การสอบคัดเลือก หรือคัดเลือก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง www.sepo.go.th การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ข้อมูลทั่วไป พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด : กระทรวงอุตสาหกรรม ประธานกรรมการ : นายประสาน ตันประเสริฐ กรรมการผู้แทน กค. : นางสาวเพรามาตร หันตรา Website : www.ieat.go.th โทร. 0 2253 0561 คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน (ม. 6) การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวง การคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด ผู้ว่าการ (CEO) : นางมณฑา ประณุทนรพาล สัญญาจ้างลงวันที่ : 27 ธันวาคม 2550 ระยะเวลาจ้าง : 2 ม.ค. 51 – 1 ม.ค. 55  วาระที่ 1  วาระที่ 2 ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO  Board  รอง CEO  บุคคลภายนอก (รองผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) รอง CEO  พนักงาน  สัญญาจ้าง CFO  พนักงาน  สัญญาจ้าง พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 วัตถุประสงค์ มีดังต่อไปนี้ (ม. 6) (1) การจัดให้ได้มาซึ่งที่ดินที่เหมาะสมเพื่อจัดตั้งหรือขยายนิคมอุตสาหกรรมหรือเพื่อดำเนินธุรกิจอื่นที่เป็นประโยชน์ หรือเกี่ยวเนื่องกับ กนอ. (2) การปรับปรุงที่ดินตาม (1) เพื่อให้บริการ ตลอดจนจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานของผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้ประกอบพาณิชยกรรม* และผู้ประกอบกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรมหรือการประกอบพาณิชยกรรม*เช่น การจัดให้มีถนน ท่อระบายน้ำ โรงบำบัดน้ำเสีย ไฟฟ้า ประปา และโทรคมนาคม เป็นต้น (3) การให้เช่า ให้เช่าซื้อ และขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ในนิคมอุตสาหกรรมหรือเพื่อประโยชน์แก่กิจการของนิคมอุตสาหกรรมโดยตรง (4) การดำเนินธุรกิจอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการอันอยู่ในวัตถุประสงค์ของ กนอ. (5) การร่วมดำเนินงานกับบุคคลอื่นตามวัตถุประสงค์ใน (1) (2) หรือ (3) รวมทั้งการเข้าเป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือถือหุ้นในนิติบุคคลใดๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการอันอยู่ในวัตถุประสงค์ของ กนอ. (6) การส่งเสริมและควบคุมนิคมอุตสาหกรรมของเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐ เงินเดือนพนักงาน กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน  คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง  มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง  ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น อัตราเงินเดือนขั้นสูงสุด ขั้นที่ 58 Min-max ของเงินเดือน : 5,820 – 113,520 บาท อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี) : 9,130 บาท จำนวนพนักงาน : 588 คน (31 พ.ค. 54) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ  ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป  ยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ คณะกรรมการประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอีกไม่เกิน 10 คน รวมทั้งผู้ว่าการซึ่งเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง และให้ ครม.เป็นผู้แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นซึ่งมิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง (ม. 18) วาระการดำรงตำแหน่ง : ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่ง คราวละ 3 ปี และประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ (ม. 21) ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด : คณะกรรมการแต่งตั้งผู้ว่าการและกำหนดอัตราเงินเดือนของผู้ว่าการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (ม. 25) การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ปัจจุบันไม่มีโครงการที่ดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ ลักษณะต้องห้ามของประธานกรรมการหรือกรรมการ - ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญากับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือในกิจการที่กระทำให้แก่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือในกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและแข่งขันกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมเว้นแต่เป็นเพียงผู้ถือหุ้นเพื่อการลงทุนโดยสุจริตในนิติบุคคลที่กระทำการอันมีส่วนได้เสียเช่นว่านั้น (ม. 19 (7)) หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง : เมื่อมีความจำเป็นที่จะต้องได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดตั้งหรือขยายนิคมอุตสาหกรรม ให้ กนอ. มีอำนาจดำเนินการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ (ม. 38) พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา (ม. 61) ทรัพย์สินของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี (ม. 17) สิทธิประโยชน์ทางอากรเกี่ยวกับของที่นำเข้า (ม .48 -56) ที่มาของข้อมูล  สัญญาจ้างผู้บริหาร  www.krisdika.go.th  มติคณะรัฐมนตรี  ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 2 ผู้อำนวยการส่วน : นายปัญญ์สุธา รายา ผู้จัดทำ : นางสาวพิมพ์นิภา โตประเสริฐ โทร. 0 2298 5880-9 ต่อ 6719 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง -ไม่มี- ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง เรื่องเสร็จที่ 538/2549 (เรื่อง ปัญหาข้อกฎหมายตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ กรณี กนอ.จะร่วมลงทุนโดยถือหุ้นในบริษัทเอกชน ) การร่วมลงทุนของ กนอ. กับบริษัทเอกชน เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงว่า บริษัทเอกชนประกอบกิจการในฐานะผู้ประกอบอุตสาหกรรมตามกฎหมายของ กนอ. โดยมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับของ กนอ. เช่นเดียวกับผู้ประกอบอุตสาหกรรมอื่นที่ประกอบกิจการใน กนอ.และไม่มีลักษณะที่เป็นกิจการของรัฐ อีกทั้งมิใช่เป็นกิจการที่ กนอ. มีหน้าที่ต้องทำตามกฎหมาย ดังนั้น การดำเนินการเกี่ยวกับโรงงานผลิตไฟฟ้าในกรณีนี้เป็นการลงทุนโดยผู้ประกอบการอุตสาหกรรม มิใช่เป็นการลงทุนโดย กนอ. การดำเนินการดังกล่าวจึงไม่เป็นการดำเนินโครงการที่เป็นการลงทุนในกิจการของรัฐตามกฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ