บรรยายโดย วิโชติ จงรุ่งโรจน์ สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
Advertisements

เศรษฐกิจ พอเพียง.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
เศรษฐกิจพอเพียงกับบริการสุขภาพ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
เศรษฐกิจพอเพียง M2A จัดทำโดย 1.ด.ช.สาโรจน์ อินทรไชย เลขที่ 16
ความสำคัญของจิตสาธารณะ
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

เดินตามพ่อ อยู่อย่างพอเพียง หน้าหลัก ออกโปรแกรม.
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
การนำ หลักการ เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้แก้ไขปัญหาการเมืองไทย
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การพัฒนานวัตกรรมแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.ฐิติพร เลาหสูต.
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
ด.ญ.สุพรรณิกา วัฒนภูษิตสกุณ
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
T O GIS online.
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
สหเวชศาสตร์(กายภาพบำบัด)
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
GO!!.
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางประยุกต์ใช้ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน บรรยายโดย วิโชติ จงรุ่งโรจน์ สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต้ 29 พฤศจิกายน 2550

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ในหลวงทรงชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ปัจจุบันมีบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร และธุรกิจ นำหลักปรัชญาดังกล่าวไปใช้ เป็นจำนวนมากขึ้นตามลำดับ

ที่มาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ขอให้ทุกคน มีความปรารถนา ที่จะให้เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความสงบ และทำงานตั้งจิตอธิษฐาน ตั้งปณิธานในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้ (พระราชดำรัสฯ เมื่อ 4 ธันวาคม 2517)

คนเราถ้าพอใจในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็ เบียดเบียน คนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข (พระราชดำรัสฯ เมื่อ 4 ธันวาคม 2541)

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่งคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือน ตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป (พระราชดำรัสฯ เมื่อ สิงหาคม 2542)

นิยามของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ครอบครัว ชุมชน จนถึงรัฐ ทั้งในกาพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อ ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการ นำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนักในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความ อดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อม ต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง แนวคิด แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ พอประมาณ หลักการ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ความรอบรู้ คุณธรรม ความเพียร เงื่อนไข ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติ เชื่อมโยงวิถีชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/การเมือง สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เป้า ประสงค์

ระบบเศรษฐกิจกระแสหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นการเจริญเติบโตทาง ส่งเสริมการบริโภคนิยม เน้นการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ (GDP) การลงทุนภาคอุตสาหกรรม การค้าแบบทันสมัย ส่งเสริมเกษตรเชิงเดี่ยว ลดการพึ่งตนเอง พึ่งพา ปัจจัยภายนอก ส่งเสริมการบริโภคแบบพอเพียง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แบบพอประมาณ/รู้เท่าทัน สนับสนุนวิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์ ส่งเสริมการเกษตรแบบผสมผสาน เน้นการสร้างภูมิคุ้มกัน พึ่งตนเองได้ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม มุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน

แนวคิดการดำเนินงานขับเคลื่อน

การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ การแปลงสู่การปฏิบัติ เริ่มอันเชิญไว้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (2545-49) มีค่อนข้างจำกัด มุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจกระแสหลัก เป็นยุครัฐบาลทักษิณ ยังคงอันเชิญไว้ใน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (2550-54) การแปลงสู่การปฏิบัติมีมากขึ้น เช่น ผ่านทาง ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข ปี 50 ใช้งบ 7,000 ล้านบาท ปี 51 ตั้งงบไว้ 15,000 ล้านบาท ใช้ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจกระแสหลัก

แนวทางประยุกต์ใช้ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

แนวทางประยุกต์ใช้ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

แนวทางประยุกต์ใช้ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

แนวทางประยุกต์ใช้ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ทั้งในมิติของ ความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันดังกล่าว สามารถนำไปใช้ได้ทั้งในระดับ ครอบครัว ชุมชน องค์กร ธุรกิจ ประเทศ และโลก

เงื่อนไขการประยุกต์ใช้ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน การประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่เรื่องยาก แต่การทำให้ผู้คนรู้สึกตระหนักถึงยากกว่ามาก เพราะเป็นการต่อสู้กันระหว่างฝ่ายกิเลส ความโลภ และผลประโยชน์ส่วนตัว กับฝ่ายทางสายกลาง ความพอเพียง และสำนึกต่อส่วนรวม ในสถานการณ์ ภาวะโลกร้อน อันเกิดจากการพัฒนาของมนุษย์ การเดินไปในกระแสของวัตถุนิยมและบริโภคนิยมสุดๆ ต่อไป คือการเดินไปสู่หายนะของมนุษยชาติอย่างแท้จริง................................................

10 ประเทศที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุด 1. สหรัฐอเมริกา 22.2 % 2. จีน 18.4 % 3. รัสเซีย 5.6 % 4. อินเดีย 4.9 % 5. ญี่ปุ่น 4.6 % 6. เยอรมนี 3.0 % 7. แคนาดา 2.3 % 8. อังกฤษ 2.2 % 9. เกาหลีใต้ 1.7 % 10. อิตาลี เป็นข้อมูลปี 2004 ไทยอยู่อันดับที่ 22 (1.0 %) ข้อมูลปี 2006 จีนขึ้นเป็นอันดับหนึ่ง